Page 15 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        7


                                     สําหรับประเทศไทยไดแบงการสํารวจและทําแผนที่ดินออกเปน 6 ระดับ (สํานัก
                       สํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2551) ดังนี้

                                     1. การสํารวจดินแบบหยาบมากหรือแบบกวาง (exploratory survey) เปนการ
                       สํารวจดินเพื่อใชขอมูลในการวางแผนระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศ และใชเปนแนวทางในการ

                       วางแผนการศึกษาขั้นละเอียดตอไป แผนที่ที่ใชในการสํารวจดินในสนามมีมาตราสวน 1:100,000 ถึง
                       1:250,000 ขอบเขตของดินแตละหนวยที่แสดงไวในแผนที่ดินไดจากการแปลรูปถายทางอากาศหรือ
                       ภาพจากดาวเทียม โดยใชขอมูลพื้นฐานและปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการกําเนิดดิน เชน ขอมูลทาง

                       ธรณีวิทยา ธรณีสัณฐานวิทยา พืชพรรณการใชประโยชนที่ดิน และสภาพภูมิอากาศ โดยมีการสุมตรวจ
                       ดินในภาคสนามเปนบางจุด โดยทั่วไปจะเปนการศึกษาไปตามแนวตัดขวางกับสภาพพื้นที่และ
                       ธรณีวิทยา หนวยแผนที่ที่ใชแสดงไวบนแผนที่ดินสวนใหญจะเปนหนวยดินสัมพันธ (associations)

                       กลุมดินใหญ (great groups) และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas) แผนที่ดินที่พิมพ
                       ออกเผยแพรมีมาตรสวน 1:1,000,000 หรือมาตราสวนเล็กกวา พื้นที่ที่เล็กที่สุดที่แสดงในแผนที่ควร
                       มากกวา 6,250 ไร

                                     2. การสํารวจดินแบบหยาบ (reconnaissance survey) เปนการสํารวจดิน เพื่อใช
                       ขอมูลในการวางแผนระดับภาคหรือระดับประเทศ เพื่อใหทราบถึงศักยภาพของพื้นที่ในการพัฒนา

                       และใชเปนแนวทางในการวางแผนการศึกษา วิจัยขั้นละเอียดตอไป แผนที่ที่ใชในการสํารวจดินใน
                       สนามมีมาตราสวนอยูระหวาง 1:100,000 ถึง 1:250,000 ขอบเขตของดินที่ไดจากการแปรรูปถาย
                       ทางอากาศ หรือจากภาพดาวเทียม และการตรวจสอบดินในสนาม โดยกําหนดไวประมาณ

                       12.5 ตารางกิโลเมตรตอ 1 จุดตรวจสอบดิน (8,000 ไร/1 จุด) หนวยแผนที่ที่ใชแสดงไวบนแผนที่ดิน
                       สวนใหญจะเปนหนวยดินสัมพันธกลุมดินยอย (subgroups) และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด แผนที่ดินที่
                       พิมพออกเผยแพรมีมาตรสวน 1:100,000 ถึง 1:1,000,000 พื้นที่ที่เล็กที่สุดที่แสดงในแผนที่ประมาณ

                       625-6,250 ไร
                                     3. การสํารวจดินแบบคอนขางหยาบ (detailed reconnaissance survey) เปน

                       การสํารวจดินเพื่อใชขอมูลในการวางแผนระดับจังหวัดหรือโครงการขนาดใหญ เพื่อใหทราบถึง
                       ศักยภาพของพื้นที่ในการพัฒนาในเบื้องตน เพื่อใชเปนแนวทางในการกําหนดพื้นที่ที่จะพัฒนา
                       หรือเพื่อศึกษาในรายละเอียดตอไป แผนที่ที่ใชในการสํารวจดินมีมาตราสวนอยูระหวาง 1:40,000 ถึง

                       1:100,000 ขอบเขตของดินที่ไดจากการแปรรูปถายทางอากาศ หรือจากภาพดาวเทียม และการ
                       ตรวจสอบดินในสนาม โดยกําหนดไวประมาณ 1-2 ตารางกิโลเมตรตอ 1 จุดตรวจสอบดิน
                       (625-1,250 ไร/1 จุด) หนวยแผนที่ที่ใชแสดงไวบนแผนที่ดินสวนใหญจะเปนหนวยดินสัมพันธวงศดิน

                       (soil family) ชุดดิน (soil series)  ดินคลาย (soil variants) และหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด แผนที่ดินที่
                       พิมพออกเผยแพรมีมาตรสวน 1:50,000 ถึง 1:100,000 พื้นที่ที่เล็กที่สุดที่แสดงในแผนที่ประมาณ
                       156-625 ไร

                                     4. การสํารวจดินแบบคอนขางละเอียด (semi-detailed survey) เปนการสํารวจดิน
                       เพื่อใชขอมูลในการวางแผนระดับอําเภอหรือโครงการขนาดกลาง เพื่อใหทราบถึงศักยภาพของพื้นที่

                       ในการพัฒนาและวางแนวทางการปฏิบัติงาน แผนที่ที่ใชในการสํารวจดินมีมาตราสวนอยูระหวาง
                       1:15,000 ถึง 1:50,000 ขอบเขตของดินที่ไดจากการแปรรูปถายทางอากาศ หรือจากภาพดาวเทียม
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20