Page 14 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        6


                              ธรณีวิทยา (geology) หมายถึง วิทยาศาสตรแขนงหนึ่งซึ่งเกี่ยวของกับประวัติของสสารที่
                       เปนองคประกอบของโลกและสิ่งมีชีวิตบนพื้นโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ปรากฏรองรอยอยูในหินตาง ๆ

                       ธรณีวิทยามี 3 สาขาหลัก คือ ธรณีวิทยาโครงสรางหรือธรณีแปรสัณฐาน ธรณีวิทยาพลวัต และ
                       ธรณีวิทยาประวัติ (คณะกรรมการจัดทําพจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)

                              สัณฐานวิทยาดิน (soil morphology) หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงลักษณะ รูปรางของหนาตัดดิน
                       เชน สีดิน จุดประ เนื้อดิน โครงสรางดิน การยึดตัวของดิน คราบดินเหนียว วัตถุตนกําเนิดดิน การเรียง
                       ตัวของชั้นดิน ซึ่งสามารถสังเกตและตรวจสอบไดทั้งในสนามและหองปฏิบัติการ (คณะกรรมการจัดทํา

                       พจนานุกรมปฐพีวิทยา, 2551)
                              การสํารวจดิน (soil survey) หมายถึง การใชวิธีทางภาคสนาม และขอสนเทศจากแหลง

                       ตาง ๆ มาประมวลเขาดวยกันเพื่อ แจกแจง ใหคําจํากัดความ และจําแนกชนิดของดินบริเวณใด
                       บริเวณหนึ่ง แบงขอบเขตดินออกเปนหนวยดิน ซึ่งอาจจะเปนหนวยเดี่ยวหรือหนวยผสมบนแผนที่ดิน
                       (คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548) การสํารวจดินที่สมบูรณตองประกอบไปดวย แผนที่ดินและ

                       รายงานการสํารวจดินที่บอกรายละเอียดเกี่ยวกับชนิดของดิน ลักษณะและสมบัติของดิน ขอบเขต
                       และการแพรกระจายของดิน ลักษณะสภาพพื้นที่ สภาพแวดลอม รวมถึงการแปลความหมายของ
                       ขอมูลดินเพื่อใชประโยชนตามวัตถุประสงคตาง ๆ เชน เกษตรกรรม วิศวกรรม ชลประทาน ปาไม

                       และสิ่งแวดลอมเปนตน (ภูษิต, 2551; สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2551)
                                     การสํารวจดิน ประกอบดวย 4 องคประกอบ คือ
                                     1. การตรวจสอบดินในสนาม คือ การออกศึกษาดินในบริเวณที่ทําการสํารวจ

                       เปนการศึกษาลักษณะของดิน ชนิดของดิน และขอบเขตของดิน รางขอบเขตดินลงในแผนที่พื้นฐาน
                       ทําคําอธิบายหนาตัดดินที่เปนตัวแทนของดินแตละชนิด และเก็บตัวอยางดินเพื่อนํามาวิเคราะหใน
                       หองปฏิบัติการ

                                     2. การวิเคราะหตัวอยางดินในหองปฏิบัติการ เปนการเคราะหตัวอยางดินที่เก็บดิน
                       ตัวแทนในภาคสนาม เพื่อนําผลวิเคราะหมาใชในการจําแนกดิน และใชในการประเมินศักยภาพของ
                       ดินนั้น ซึ่งในการวิเคราะหจะรวมถึงการวิเคราะหสมบัติทางกายภาพ เคมี แรวิทยา และจุลสัณฐาน

                       วิทยาของดิน
                                     3. การทําแผนที่ดิน เปนกระบวนการเขียนขอบเขตดินชนิดตาง ๆ ที่ใชทั้งขอมูล
                       ภาคสนามรวมกับผลการวิเคราะหดินในหองปฏิบัติการ การทําแผนที่ตองทําตามเกณฑตามมาตรา

                       สวนของการสํารวจดินที่กําหนดไว
                                     4. การทํารายงานสํารวจดิน เปนการประมวลขอมูลและขอสนเทศที่ไดจากการ
                       สํารวจดินในพื้นที่เปนรายงานตามแบบมาตรฐาน ในรายงานสํารวจดินตองมีขอมูลพื้นฐานทั่วไปของ

                       พื้นที่บริเวณที่ทําการสํารวจและขอมูลที่ไดจากการสํารวจดิน ผลวิเคราะหตาง ๆ และการแปล
                       ความหมายขอมูลดินเพื่อใชตามวัตถุประสงคของการสํารวจดินในพื้นที่นั้น ๆ (คณาจารยภาควิชา
                       ปฐพีวิทยา, 2548)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19