Page 12 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 12
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
3. รูปแบบทางน้ําแบบตั้งฉาก (rectangular drainage pattern) เปนรูปแบบการ
ระบายน้ําที่ลําธารสายยอยดวยกันหรือลําธารสายยอยกับสายหลักมาสบกันเปนมุมฉาก นอกจากนี้
แนวโคงของลําน้ําทุกสายในระบบจะเปนมุมฉากเชนเดียวกัน และจะมีระยะการหักงอของลําน้ําเกือบ
เทากัน เนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศ
4. รูปแบบทางน้ําแบบรัศมี (radial drainage pattern) เปนรูปแบบการระบายน้ํา
ที่ลําน้ําสายหลักและลําน้ําสาขาจะไหลออกไปทุกทิศทางจากที่สูงตอนกลาง เชน รูปแบบการระบาย
น้ําที่เกิดขึ้นตามลักษณะภูมิประเทศแบบโดม กรวยภูเขาไฟ หรือเนินเขาที่อยูอยางโดดเดี่ยว
5. รูปแบบทางน้ําแบบขนาน (parallel drainage pattern) เปนรูปแบบการระบาย
น้ําของลําน้ําสายหลัก และลําน้ําสาขามีทิศทางการไหลขนานกัน หรือเกือบขนานกันไปในแนวทิศทาง
เดียวกันตลอด
6. รูปแบบทางน้ําแบบวงแหวน (annular drainage pattern) เปนรูปแบบการ
ระบายน้ําตามแนวระดับ ซึ่งมีทิศทางการไหลของลําน้ําตามรอยแยกของชั้นหิน มีลักษณะเปนสวน
หนึ่งของวงแหวนหรือเกือบเปนวงแหวน โดยจะไหลไปรวมกันกับลําน้ําสายหลักเพื่อระบายลงสูที่ต่ํา
ตอไป มักพบรูปแบบการระบายน้ําแบบนี้บริเวณเชิงเขาของลักษณะภูมิประเทศแบบโดม
พื้นที่ลุมน้ํา หมายถึง หนวยของพื้นที่ซึ่งลอมรอบดวยสันปนน้ํา เปนพื้นที่รับน้ําฝนของแมน้ํา
สายหลักในลุมน้ํานั้น ๆ เมื่อฝนตกลงมาในพื้นที่ลุมน้ํา น้ําจะไหลออกสูลําธารยอย ๆ แลวรวมกันออกสู
ลําธารสายใหญและรวมกันออกแมน้ําสายหลักจนไหลออกปากน้ําในที่สุด พื้นที่ลุมน้ําแตละแหงจะมี
ขนาดไมแนนอน ขึ้นอยูกับสภาพภูมิศาสตรและวัตถุประสงคในการจัดแบงพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการ
(เกษม, 2551)
ชั้นคุณภาพลุมน้ํา หมายถึง การแบงเขตพื้นที่ลุมน้ําตามลักษณะกายภาพเพื่อประโยชนใน
การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพในลุมน้ํานั้น ๆ การกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา
จําแนกตามมติคณะรัฐมนตรี แบงเปน 5 ระดับ (คํารณ, 2552) ประกอบดวย
1. พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 หมายถึง พื้นที่ภายในลุมน้ําที่ควรจะตองสงวนรักษาไวเปน
พื้นที่ตนน้ําลําธารโดยเฉพาะ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดลอม จากการ
เปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไดงายและรุนแรงไมวาพื้นที่จะมีปาหรือไมมีปาปกคลุมก็ตาม ในพื้นที่ลุมน้ํา
ชั้นที่ 1 จะแบงออกเปน 2 ระดับชั้นยอย คือ
1) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1A หมายถึง พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 ที่ยังคงมีสภาพปาสมบูรณ
ปรากฏอยูในป พ.ศ. 2525 ซึ่งจําเปนจะตองสงวนรักษาไวเปนพื้นที่ตนน้ําลําธารและเปนทรัพยากรปาไม
2) พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1B หมายถึง พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 ซึ่งสภาพปาสวนใหญในพื้นที่
ไดถูกทําลายดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอนหนาป พ.ศ. 2525
และการใชที่ดินหรือการพัฒนารูปแบบตาง ๆ ที่ดําเนินการไปแลวจะตองมีมาตรการควบคุมเปนพิเศษ
2. พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 2 หมายถึง พื้นที่ภายในลุมน้ําซึ่งมีคาดัชนีชั้นคุณภาพลุมน้ําที่
ลักษณะทั่วไปมีคุณภาพเหมาะตอการเปนตนน้ําลําธารในระดับรองลงมา และสามารถนํามาใช
ประโยชนเพื่อกิจการที่สําคัญได เชน การทําเหมืองแร เปนตน
3. พื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 3 หมายถึง พื้นที่ภายในลุมน้ําที่โดยทั่วไปสามารถใชประโยชนได
ทั้งกิจกรรมทําไมเหมืองแรและปลูกพืชกสิกรรมประเภทไมยืนตน