Page 39 - การไถกลบตอซังเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        29

                   ตารางที่ 6 สมบัติทางเคมีของดินของแปลงทดสอบ

                                                                       ปริมาณ             ปริมาณ
                                               ปริมาณอินทรียวัตถุ
                                 ค่าความเป็น                       ฟอสฟอรัสที่เป็น    โพแทสเซียมที่เป็น
                      วิธีการ                       (OM)
                                 กรดเป็นด่าง                      ประโยชน์ (Avail P)  ประโยชน์ (Avail K)
                                                  (เปอร์เซ็นต์)             -1                 -1
                                                                      (mgkg )             (mgkg )
                       T1            5.5             2.65                6                  169
                       T2            4.7             2.56                2                  175

                       T3            5.8             3.83                4                  180

                   ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1

                   หมายเหตุ T1 คือ วิธีการที่ 1 การผลิตข้าวของเกษตรกรแปลงเปรียบเทียบ (นายสมศักดิ์ มะลิทอง)
                             T2 คือ วิธีการที่ 2 การผลิตข้าวตามวิธีเดิมของเกษตรกร (นายดาวเรือง มะลิทอง)
                                T3 คือ  วิธีการที่ 3 การผลิตข้าวของเกษตรกรโดยวิธีการไถกลบตอซัง (นายดาวเรือง มะลิทอง)


                   4.2 ผลการศึกษาด้านการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าว

                          4.2.1 การเจริญเติบโตและองค์ประกอบผลผลิต
                                จากการศึกษาการเจริญเติบโตของข้าว ท าการเก็บข้อมูลด้าน ความสูงจ านวนต้นต่อกอ
                   และจ านวนรวงต่อกอ (ตารางที่ 7) พบว่าการเจริญเติบโต ด้านความสูง ทั้ง 3 วิธีการ มีการเจริญเติบโตไม่
                   แตกต่างกันมากนัก โดยที่วิธีการผลิตข้าวโดยวิธีเดิมของเกษตรกร (T2) มีการเจริญเติบโตทางด้านความสูง

                   มากที่สุดคือ 117 เซนติเมตร รองลงมาคือ วิธีการผลิตข้าวของเกษตรกรโดยวิธีการไถกลบตอซัง (T3) 116
                   เซนติเมตร และวิธีการผลิตข้าวโดยวิธีการของเกษตรกรแปลงเปรียบเทียบ (T1) มีการเจริญเติบโตทางด้าน
                   ความสูงน้อยที่สุด คือ 115 เซนติเมตร

                                การเจริญเติบโตด้านจ านวนต้นต่อกอ พบว่าวิธีการผลิตข้าวของเกษตรกรโดยวิธีการไถกลบ
                   ตอซัง (T3) มีจ านวนต้นต่อกอมากที่สุด คือ 12.50 ต้นต่อกอ รองลงมาคือ การผลิตข้าวของเกษตรกร
                   แปลงเปรียบเทียบ (T1) คือ 12.00 ต้นต่อกอ และการผลิตข้าวตามวิธีเดิมของเกษตรกร (T2) มีจ านวนต้น
                   ต่อกอ น้อยที่สุด คือ 11.50 ต้นต่อกอ (ตารางที่ 7)

                          4.2.2 องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิต
                                การเจริญเติบโตด้าน จ านวนรวงต่อกอ พบว่า พบว่าวิธีการผลิตข้าวของเกษตรกรโดย
                   วิธีการไถกลบตอซัง (T3) มีจ านวนรวงต่อกอมากที่สุด คือ 15.75 รวงต่อกอ รองลงมาคือ การผลิตข้าวของ
                   เกษตรกรแปลงเปรียบเทียบ (T1) คือ 14.75 รวงต่อกอ และวิธีการผลิตข้าวตามวิธีเดิมของเกษตรกร (T2)

                   มีจ านวนรวงต่อกอ น้อยที่สุด คือ 14.00 รวงต่อกอ (ตารางที่ 7)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44