Page 40 - การไถกลบตอซังเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
P. 40
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
30
ตารางที่ 7 การเจริญเติบโตด้านความสูง จ านวนต้นต่อกอและจ านวนรวงต่อกอ
ความสูง จ านวนต้นต่อกอ จ านวนรวงต่อกอ
วิธีการ
(เซนติเมตร) (ต้น) (รวง)
T1 : การผลิตข้าวของเกษตรกรแปลง 115.00 12.00 14.75
เปรียบเทียบ (นายสมศักดิ์ มะลิทอง)
T2 : การผลิตข้าวตามวิธีเดิมของเกษตรกร 117.00 11.50 14.00
(นายดาวเรือง มะลิทอง)
T3 : การผลิตข้าวของเกษตรกรโดยวิธีการไถ 116.00 12.50 15.75
กลบตอซัง(นายดาวเรือง มะลิทอง)
จากการศึกษาการให้ผลผลิตด้านน้ าหนัก 100 เมล็ด พบว่า ทั้ง 3 วิธีการ ไม่แตกต่างกัน
มากนัก โดยที่ วิธีการผลิตข้าวตามวิธีเดิมของเกษตรกร (T2) มีน้ าหนัก 100 เมล็ดมากที่สุด รองลงมาคือ
วิธีการผลิตข้าวของเกษตรกรโดยวิธีการไถกลบตอซัง (T3) และวิธีการผลิตข้าวของเกษตรกรแปลง
เปรียบเทียบ (T1) น้อยที่สุด คือ 18.50 18.00 และ 17.50 กรัม ตามล าดับ (ตารางที่ 8)
เปอร์เซ็นต์เมล็ดดี พบว่า วิธีการผลิตข้าวโดยวิธีการไถกลบตอซัง (T3) มีเปอร์เซ็นต์เมล็ดดี
สูงกว่าการผลิตข้าวตามวิธีเดิมของเกษตรกร (T2) และวิธีการผลิตข้าวของเกษตรกรแปลงเปรียบเทียบ
(T1) คือมีเปอร์เซ็นต์เมล็ดดีเท่ากับ 92 90 และ 85 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ (ตารางที่ 8)
ตารางที่ 8 การเจริญเติบโตของข้าวด้าน น้ าหนัก 100 เมล็ด และเปอร์เซ็นต์เมล็ดดี
น้ าหนัก 100 เมล็ด เปอร์เซ็นต์เมล็ดดี
วิธีการ
(กรัม) (เปอร์เซ็นต์)
T1 : การผลิตข้าวของเกษตรกรแปลง 17.50 85
เปรียบเทียบ(นายสมศักดิ์ มะลิทอง)
T2 : การผลิตข้าวตามวิธีเดิมของเกษตรกร 18.50 90
(นายดาวเรือง มะลิทอง)
T3 : การผลิตข้าวของเกษตรกรโดยวิธีการ 18.00 92
ไถกลบตอซัง (นายดาวเรือง มะลิทอง)
จากการศึกษาในด้านปริมาณผลผลิตข้าว พบว่า วิธีการผลิตข้าวโดยวิธีการไถกลบตอซังมี
ปริมาณผลผลิตสูงที่สุด 935 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งใกล้เคียงกับปริมาณผลผลิตข้าวของวิธีการผลิตข้าวของ
เกษตรกรแปลงเปรียบเทียบ (932 กิโลกรัมต่อไร่) แต่เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการผลิตข้าวตามวิธีเดิมของ
เกษตรกร พบว่ามีปริมาณผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นจากวิธีเดิมที่เกษตรกรเคยปฏิบัติเท่ากับ 82 กิโลกรัมต่อไร่
เนื่องจากเกษตรกรมีการจัดดินที่ดีมากขึ้น มีการปรับปรุงบ ารุงดิน มีการใช้น้ าหมักชีวภาพ ซึ่งช่วยให้ดินมี
ความอุดมสมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น ส่งผลต่อปริมาณผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้น (ตารางที่ 9)