Page 33 - การใช้ปุ๋ยพืชสด (ปอเทือง) ร่วมกับเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินเพื่อปรับปรุงบำรุงดินและเพิ่มผลผลิตข้าว พื้นที่ตำบลพลับพลาไชย อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
P. 33
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 มีปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรอง ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และซัลเฟอร์ ซึ่งเป็นธาตุอาหารที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของ
พืช พบในปริมาณที่ต่างกันในแต่ละชนิด ดังตารางที่ 5 และพบว่าน้ าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์
พด.2 มีฮอร์โมน และกรดอินทรีย์หลายชนิด เช่น ออกซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน กรดแลคติก
กรดอะซิติก กรดอะมิโน และกรดฮิวมิก กระตุ้นการงอกของเมล็ดและเพิ่มการย่อยสลายตอซังพืช ดัง
ตารางที่ 6 (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
ตารางที่ 5 ชนิดและปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในน้ าหมักชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.2
แต่ละชนิด
ธาตุอาหาร (เปอร์เซ็นต์)
ชนิดน้ าหมักชีวภาพ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ซัลเฟอร์
น้ าหมักชีวภาพจาก 0.04 0.04 0.53 0.08 0.06 0.11
ผักผลไม้
น้ าหมักชีวภาพปลา 0.98 1.12 1.03 1.66 0.24 0.20
น้ าหมักชีวภาพจาก 0.73 0.24 0.89 2.9 0.32 0.22
หอยเชอรี่
น้ าหมักชีวภาพจาก 0.38 0.19 0.6 0.28 0.09 0.16
น้ านมดิบ
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2558)
ตารางที่ 6 ปริมาณฮอร์โมนและกรดฮิวมิกในน้ าหมักชีวภาพแต่ละชนิด
ฮอร์โมน (มิลลิกรัมต่อลิตร) กรดฮิวมิก
ชนิดน้ าหมักชีวภาพ ออกซิน จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน (เปอร์เซ็นต์)
น้ าหมักชีวภาพจากปลา 4.01 33.07 3.05 3.36
น้ าหมักชีวภาพจากหอยเชอรี่ 6.85 37.14 13.62 3.07
น้ าหมักชีวภาพจากผักประเภทกิน 4.43 16.57 22.64 0.95
ใบ
น้ าหมักชีวภาพจากผักประเภทกิน 0.27 28.93 11.28 0.83
ผล
น้ าหมักชีวภาพจากน้ านมและ 48.08 360.60 25.60 0.87
ผลไม้
น้ าหมักชีวภาพจากน้ านมดิบ 1.63 17.18 15.12 1.39
น้ าหมักชีวภาพจากพืชสมุนไพร 1.34 17.40 23.81 1.01
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2558)