Page 44 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                        34


                   ตารางที่ 18  ปริมาณโปแตสเซียมที่สะสมในผักหลังตัดแต่ง เศษผัก และส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาด

                              หวาน พ.ศ. 2557

                                                                  ปริมาณโปแตสเซียมที่สะสม (กก.K/ไร่)
                              อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)
                                                              ผักหลังตัด    เศษผัก       ส่วนเหนือดิน

                        ต ารับที่   N      P O       K O         แต่ง                      ทั้งหมด
                                                      2
                                            2 5
                          1         0        0        0          4.58        3.02           7.60
                          2       153.60  76.80     76.80        5.81        3.98           9.80
                          3       38.36  26.86      41.09        4.53        4.57           9.11

                          4        8.32      0        0          3.88        4.43           8.32
                          5       11.56      0        0          3.65        4.82           8.48
                          6       10.00  5.00        5.00        5.42        3.22           8.65
                                           L1
                                     F-test                       ns          ns             ns
                                     CV (%)                     33.58        34.71          23.67

                   หมายเหตุ :  L1 ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
                   ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์วิจัยพืช ปุ๋ยและสิ่งปรับปรุงดิน ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557)


                          ผลการทดลองในปี พ.ศ.2557 พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมีในต ารับที่ 3 ที่ท าให้น้ าหนักสดของส่วนเหนือ
                   ดินทั้งหมดแตกต่างจากการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีในต ารับที่ 1  แต่ไม่แตกต่างจากการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 2  4  5  และ 6
                   ในทางสถิติ นอกจากนี้การใส่ปุ๋ยเคมีในทุกต ารับการทดลองไม่ท าให้ผลผลิตผักหลังการตัดแต่งแตกต่างจาก
                   การไม่ใส่ปุ๋ยอย่างมีนัยส าคัญ โดยผักกาดหวานที่ปลูกในต ารับที่ 1 มีน้ าหนักสดของส่วนเหนือดินทั้งหมดสูง

                   ถึง 3,480 กิโลกรัมต่อไร่ และเป็นน้ าหนักผลผลิตผักหลังการตัดแต่ง 2,020 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าผลผลิต
                   ของผักกาดหวานที่ปลูกในปี พ.ศ. 2556  การสะสมไนโตรเจน ในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวานที่
                   ปลูกโดยไม่ใส่ปุ๋ยเคมีก็มีมากถึง 7.48  กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งแสดงว่าสภาพแวดล้อมของดินเอื้ออ านวยให้

                   กิจกรรมการย่อยสลายอินทรียวัตถุในดินของจุลินทรีย์เป็นไปได้ดีกว่าที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2556  ปริมาณ
                   การสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวานที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีมีสูงกว่าปริมาณ
                   ไนโตรเจนที่ประเมินจากปริมาณอินทรียวัตถุโดยอ้างอิงข้อมูลของ Ankermann and Large (n.d.)  ซึ่งมี
                   ค่าประมาณ 6.89 กิโลกรัมต่อไร่ แสดงว่าสภาพแวดล้อมของดินที่ใช้ในการทดลองในปี พ.ศ. 2557

                   เอื้ออ านวยให้การปลดปล่อยไนโตรเจนจากอินทรียวัตถุโดยกิจกรรมของจุลินทรีย์เป็นไปได้ดี ท าให้ผักกาด
                   หวานไม่ตอบสนองต่ออัตราการใส่ปุ๋ยเคมี
                          หากพิจารณาถึงปริมาณการสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวานในปี พ.ศ.
                   2557 กล่าวได้ว่าผักกาดหวานที่ได้รับปุ๋ยต ารับที่ 2 3 5 และ 6 มีปริมาณการสะสมไนโตรเจนในส่วนเหนือ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49