Page 40 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 40
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
30
ตารางที่ 14 น้ าหนักแห้งของผักกาดหวานต่อการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราต่าง ๆ ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่ง
หลวง พ.ศ. 2557
L1
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่) น้ าหนักแห้ง (กก./ไร่)
ต ารับที่ N P O K O ผักหลังตัดแต่ง เศษผัก ส่วนเหนือดินทั้งหมด
2
2 5
L2
1 0 0 0 107.97 (100) 70.23 (100) 178.20 (100)
2 153.60 76.80 76.80 114.12 (106) 99.54 (142) 213.60 (120)
3 38.36 26.86 41.09 111.1 (103) 94.32 (134) 205.33 (115)
4 8.32 0 0 103.29 (96) 100.69 (143) 203.98 (114)
5 11.56 0 0 99.85 (92) 78.26 111) 178.12 (100)
6 10.00 5.00 5.00 116.76 (108) 74.38 (106) 191.14 (107)
CV (%) 21.88 25.51 15.53
หมายเหตุ : L1 ค่าเฉลี่ยในแต่ละคอลัมน์ ที่ตามด้วยอักษรที่ต่างกันแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่
DMRT ที่ระดับ P < 0.05
L2 ตัวเลขในวงเล็บ คือ ผลผลิตเปรียบเทียบคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของผลผลิตเมื่อใช้ปุ๋ยต ารับที่ 1
2.4 ความเข้มข้นของธาตุอาหารหลักในผักหลังตัดแต่งและในเศษผัก
จากการทดลองในแต่ละต ารับการทดลอง พบว่า ความเข้มข้นของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในผัก
หลังตัดแต่งมีแนวโน้มสูงกว่าในเศษผัก โดยมีความเข้มข้นของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสของผักหลังตัดแต่ง
อยู่ในช่วง 4.43-5.15 และ 0.55-0.70 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ ความเข้มข้นของไนโตรเจนและฟอสฟอรัส
ของเศษผักอยู่ในช่วง 3.82-5.02 และ 0.42-0.54 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ แต่มีแนวโน้มความเข้มข้นของ
โปแตสเซียมในผักหลังตัดแต่งต่ ากว่าในเศษผัก โดยมีความเข้มข้นของโปแตสเซียมในผักหลังตัดแต่งอยู่
ในช่วง 3.64-4.87 เปอร์เซ็นต์และในเศษผักอยู่ในช่วง 3.98-4.71 เปอร์เซ็นต์ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 15
ส าหรับลักษณะความเข้มข้นของธาตุอาหารหลักที่เกิดขึ้นได้กล่าวไว้ในการทดลองในปี พ.ศ. 2556 ซึ่งอาจ
มีสาเหตุจากการเกิด Luxury consumption หรือการดูดธาตุอาหารมากเกินความต้องการแม้ว่าจะมีการ
ส่งธาตุอาหารพืชไปยังส่วนของพืชที่อ่อนกว่าใช้แล้วแต่ก็ยังมีปริมาณธาตุอาหารเหลือเป็นจ านวนมาก
(Tisdale and Nelson,1975)