Page 39 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
29
ตารางที่ 13 น้ าหนักสดของผักกาดหวานต่อการใส่ปุ๋ยเคมีอัตราต่าง ๆ ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่ง
หลวง พ.ศ. 2557
L1
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่) น้ าหนักสด (กก./ไร่)
ต ารับที่ N P O K O ผักหลังตัดแต่ง เศษผัก ส่วนเหนือดินทั้งหมด
2 5
2
L2
1 0 0 0 2,020 (100) 1,460 (100) 3,480b (100)
2 153.60 76.80 76.80 2,420 (120) 2,200 (151) 4,620ab (133)
3 38.36 26.86 41.09 2,460 (132) 2,220 (152) 4,680a (134)
4 8.32 0 0 2,220 (110) 2,180 (149) 4,400ab (126)
5 11.56 0 0 2,160 (107) 1,700 (116) 3,800ab (111)
6 10.00 5.00 5.00 2,500 (124) 1,760 (121) 4,260ab (122)
CV (%) 20.93 29.32 16.93
หมายเหตุ : L1 ค่าเฉลี่ยในแต่ละคอลัมน์ ที่ตามด้วยอักษรที่ต่างกันแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่
DMRT ที่ระดับ P < 0.05
L2 ตัวเลขในวงเล็บ คือ ผลผลิตเปรียบเทียบคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของผลผลิตเมื่อใช้ปุ๋ยต ารับที่ 1
2.3 น้ าหนักแห้งของผักหลังตัดแต่ง เศษผัก และส่วนเหนือดินทั้งหมด
เมื่อไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมีหรือต ารับที่ 1 ผักกาดหวานให้น้ าหนักแห้งของผักหลังตัดแต่งเศษผัก และ
ส่วนเหนือดินทั้งหมด107.97 70.23 และ 178.20 กิโลกรัมต่อไร่ การใส่ปุ๋ยเคมีแต่ละต ารับไม่มีผลท าให้
น้ าหนักแห้งของผักหลังตัดแต่งเศษผัก และส่วนเหนือดินทั้งหมด แตกต่างกันจากการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีในทาง
สถิติ อย่างไรก็ตามการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 2 3 4 และ 6 มีแนวโน้มท าให้น้ าหนักแห้งของส่วนเหนือดินทั้งหมดสูง
กว่าต ารับที่ 1 20 15 14 และ 7 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ และการใส่ปุ๋ยเคมีต ารับที่ 2 3 4 5 และ 6 มี
แนวโน้มท าให้น้ าหนักแห้งของเศษผักสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี 42 34 43 11 และ 6 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ
ส่วนน้ าหนักแห้งของผักหลังตัดแต่งพบว่ามีเพียงต ารับที่ 2 3 และ 6 ที่มีแนวโน้มท าให้น้ าหนักแห้งของผัก
หลังตัดแต่งสูงกว่าไม่ใส่ปุ๋ยเคมี 6 3 และ 8 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 14