Page 45 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                        35


                   ดินทั้งหมดต่ ากว่าปริมาณไนโตรเจนในปุ๋ย และเมื่อประเมินประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจนจากปุ๋ยของ
                   ผักกาดหวานที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีแต่ละอัตราโดยถือว่าผักกาดหวานที่ได้รับปุ๋ยเคมีแต่ละอัตรา มี

                   ประสิทธิภาพในการดูดใช้ไนโตรเจนที่ได้จากการปลดปล่อยของอินทรียวัตถุในดินได้ไม่ต่างจากผักกาด
                   หวานที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมี ซึ่งเป็นแนวทางในการพิจารณาข้อมูลดังที่ได้วิจารณ์มาแล้ว ส าหรับการ
                   ทดลองในปี พ.ศ. 2557 พบว่า ผักกาดหวานที่ได้รับปุ๋ยเคมีต ารับที่ 2 3 4 5 และ 6 มีการสะสมไนโตรเจน
                   ในส่วนเหนือดินทั้งหมดมากกว่าผักกาดหวานที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมี 3.22  2.88  2.13  0.53  และ 1.36


                   กิโลกรัมต่อไร่ตามล าดับ ซึ่งต่ ากว่าปริมาณไนโตรเจนที่มีอยู่ในปุ๋ย ดังแสดงไว้ในตารางที่ 19

                   ตารางที่ 19  ปริมาณไนโตรเจนที่ผักกาดหวานได้รับและประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจนจากปุ๋ยแต่ละ
                              ต ารับการทดลองของผักกาดหวาน พ.ศ. 2557

                         อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)     ปริมาณ N ที่สะสมใน          L1  ประสิทธิภาพการดูด
                                                       ส่วนเหนือดินทั้งหมด   (N)                      L2
                   ต ารับที่   N     P O      K O            (กก./ไร่)                  ใช้ N จากปุ๋ย (%)
                                      2 5
                                               2
                     1         0       0       0              7.48
                     2      153.60  76.80  76.80              10.70            3.22            2.10
                     3       38.36  26.86  41.09              10.36            2.88            7.51

                     4       8.32      0       0              9.61             2.13           25.60
                     5       11.56     0       0              8.01             0.53            4.58
                     6       10.00  5.00      5.00            8.84             1.36            8.88


                   หมายเหตุ :  L1 (N) ไนโตรเจนที่ผักกาดหวานได้รับจากการใส่ปุ๋ยเคมี = ผลต่างของปริมาณไนโตรเจน
                              ที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนแต่ละอัตรา กับปริมาณ
                              ไนโตรเจนที่สะสมในส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักที่ไม่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีไนโตรเจน
                              L2 ประสิทธิภาพการใช้ N จากปุ๋ยของผัก = (N) x 100 / อัตราการใส่ N


                          ดังนั้นหากพิจารณาจากผลต่างของปริมาณไนโตรเจนที่สะสมอยู่ในส่วนเหนือดินทั้งหมดของ
                   ผักกาดหวานที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีกับการสะสมไนโตรเจนของส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวานที่ไม่ได้
                   รับการใส่ปุ๋ย คือ ไนโตรเจนที่พืชได้รับจากปุ๋ยและใช้ข้อมูลนี้ประเมินประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจนของ

                   ผักกาดหวานที่ได้รับปุ๋ยเคมีแต่ละต ารับ พบว่า ผักกาดหวานที่ได้รับปุ๋ยต ารับที่ 2  3  4  5  และ 6 มี
                   ประสิทธิภาพการดูดใช้ไนโตรเจน 2.10 7.51 25.60 4.58 และ 8.88 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณไนโตรเจนใน
                   ปุ๋ยตามล าดับ โดยการใส่ปุ๋ยในต ารับที่ 4 เป็นต ารับการใส่ปุ๋ยที่ท าให้ผักกาดหวานมีประสิทธิภาพการดูดใช้

                   ไนโตรเจนสูงกว่าต ารับอื่น ส่วนต ารับที่  2 ผักกาดหวานสามารถดูดใช้ไนโตรเจนจากปุ๋ยได้เพียง 2.10
                   เปอร์เซ็นต์เท่านั้น
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50