Page 42 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 42
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
32
ตารางที่ 16 ปริมาณไนโตรเจนที่สะสมในผลผลิต เศษผัก และส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาดหวาน
พ.ศ. 2557
ปริมาณไนโตรเจนที่สะสม (กก.N/ไร่)
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)
ผักหลังตัด เศษผัก ส่วนเหนือดิน
ต ารับที่ N P O K O แต่ง ทั้งหมด
2
2 5
1 0 0 0 4.78 2.70 7.48
2 153.60 76.80 76.80 5.91 4.78 10.70
3 38.36 26.86 41.09 5.57 4.78 10.36
4 8.32 0 0 5.15 4.46 9.61
5 11.56 0 0 4.61 3.40 8.01
6 10.00 5.00 5.00 5.46 3.37 8.84
L1
F-test ns ns ns
CV (%) 22.11 30.36 19.40
หมายเหตุ : L1 ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์วิจัยพืช ปุ๋ยและสิ่งปรับปรุงดิน ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557)
2.5.2 ฟอสฟอรัส (P)
ผลของการใส่ปุ๋ยต ารับต่าง ๆ ต่อการสะสมฟอสฟอรัสในส่วนเหนือดินทั้งหมด ในผักหลังตัดแต่ง
และในเศษผักของผักกาดหวาน ส าหรับการทดลองปี พ.ศ. 2557 พบว่า เมื่อไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมีหรือต ารับที่
1 มีการสะสมฟอสฟอรัสในผักหลังตัดแต่ง ในเศษผักและในส่วนเหนือดินทั้งหมด 0.61 0.29 และ 0.90
กิโลกรัมต่อไร่ตามล าดับ การใส่ปุ๋ยเคมีแต่ละอัตราไม่มีผลท าให้การสะสมฟอสฟอรัสในส่วนเหนือดิน
ทั้งหมด ในผักหลังตัดแต่ง และในเศษผักแตกต่างกันจากการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีอย่างมีนัยส าคัญ แต่ก็มีแนวโน้ม
ท าให้การสะสมฟอสฟอรัสในทุกส่วนของผักกาดหวานสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีโดยในส่วนเหนือดินมีการ
สะสมฟอสฟอรัสอยู่ในช่วง 1.08-1.31 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี 20-59 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใน
ผักหลังตัดแต่งมีการสะสมฟอสฟอรัสอยู่ในช่วง 0.68-0.80 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี 19-33
เปอร์เซ็นต์ ส าหรับในเศษผักการใส่ปุ๋ยเคมีท าให้การสะสมฟอสฟอรัสอยู่ในช่วง 0.39-0.52 กิโลกรัมต่อไร่
ซึ่งสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี 35-79 เปอร์เซ็นต์ ดังแสดงไว้ในตารางที่ 17