Page 43 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 43
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
33
ตารางที่ 17 ปริมาณฟอสฟอรัสที่สะสมในผักหลังตัดแต่ง เศษผัก และส่วนเหนือดินทั้งหมดของผักกาด
หวาน พ.ศ. 2557
ปริมาณฟอสฟอรัสที่สะสม (กก.P/ไร่)
อัตราการใส่ปุ๋ย (กก./ไร่)
ผักหลังตัด เศษผัก ส่วนเหนือดิน
ต ารับที่ N P O K O แต่ง ทั้งหมด
2
2 5
1 0 0 0 0.61 0.29 0.90
2 153.60 76.80 76.80 0.76 0.52 1.29
3 38.36 26.86 41.09 0.78 0.52 1.31
4 8.32 0 0 0.70 0.51 1.22
5 11.56 0 0 0.68 0.39 1.08
6 10.00 5.00 5.00 0.80 0.40 1.21
L1
F-test ns ns ns
CV (%) 22.53 36.95 18.18
หมายเหตุ : L1 ns หมายถึง ไม่แตกต่างกันที่ระดับ 0.05
ที่มา : กลุ่มวิเคราะห์วิจัยพืช ปุ๋ยและสิ่งปรับปรุงดิน ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2557)
2.5.3 โปแตสเซียม (K)
ผลของการใส่ปุ๋ยเคมีต ารับต่าง ๆ ต่อปริมาณการสะสมโปแตสเซียมในส่วนเหนือดินทั้งหมด ในผัก
หลังตัดแต่ง และในเศษผักของผักกาดหวาน ส าหรับการทดลองปี พ.ศ. 2557 พบว่าในผักกาดหวานที่ไม่ได้
รับการใส่ปุ๋ยเคมีหรือในต ารับที่ 1 มีการสะสมโปแตสเซียมในผักหลังตัดแต่ง ในเศษผัก และในส่วนเหนือ
ดินทั้งหมด 4.58 3.02 และ 7.60 กิโลกรัมต่อไร่ตามล าดับ เมื่อมีการใส่ปุ๋ยเคมีในทุกต ารับการทดลองไม่มี
ผลท าให้การสะสมโปแตสเซียมในทุกส่วนของผักกาดหวานแตกต่างจากการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีในทางสถิติ แต่การ
สะสมโปแตสเซียมในส่วนเหนือดินทั้งหมดที่ได้รับการใส่ปุ๋ยเคมีแต่ละอัตรามีแนวโน้มสูงกว่าไม่ใส่ปุ๋ยเคมี
ในช่วงตั้งแต่ 8-29 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาณการสะสมโปแตสเซียมอยู่ในช่วง 8.32-9.80 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วน
ในเศษผักก็มีการสะสมโปแตสเซียมเพิ่มขึ้นเมื่อมีการใส่ปุ๋ยเคมีแต่ละต ารับโดยมีการสะสมโปแตสเซียมสูง
กว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีในช่วง 6-59 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมีปริมาณการสะสมโปแตสเซียมประมาณ 3.22-4.82
กิโลกรัมต่อไร่ ในกรณีของผักหลังตัดแต่งพบว่าการใส่ปุ๋ยต ารับที่ 2 และ 6 มีแนวโน้มท าให้การสะสม
โปแตสเซียมสูงกว่าต ารับที่ 1 ซึ่งไม่มีการใส่ปุ๋ยเคมี 27 และ 18 เปอร์เซ็นต์ ส่วนอัตราอื่นที่เหลือมีแนวโน้ม
ท าให้การสะสมโปแตสเซียมในผักหลังตัดแต่งต่ ากว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมีในช่วง 1-20 เปอร์เซ็นต์ ดังแสดงไว้ใน
ตารางที่ 18