Page 21 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                        11


                          ในโรงเรือนของนายชาคริตต้องใช้ปุ๋ยในอัตรา 20-5-5 กิโลกรัม N-P O -K O ต่อไร่ การใส่ปุ๋ย
                                                                                    2 5 2
                   ครั้งที่ 1 หลังย้ายกล้า 7 วัน ใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 33.33 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยสูตร 46-0-0

                   อัตรา 10.87  กิโลกรัมต่อไร่ การใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 หลังย้ายกล้า 15 วัน ใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 21.75
                   กิโลกรัมต่อไร่
                                    5)    ดูแลรักษาแปลงโดยมีการให้น้ าด้วยระบบน้ าหยดในโรงเรือนของศูนย์พัฒนา
                   โครงการหลวงทุ่งหลวงและให้น้ าด้วยระบบสปริงเกอร์ในแปลงของเกษตรกรทั้ง 2 แปลง รวมทั้งด าเนินการ
                   ป้องกันก าจัดวัชพืชและก าจัดศัตรูพืช

                                    6)  ท าการสุ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตภายหลังการย้ายกล้าปลูกได้ 30 วัน โดยใช้พื้นที่เก็บ
                   เกี่ยว 7 จุดต่อต ารับการทดลองและแต่ละจุดมีพื้นที่เก็บเกี่ยว 1 ตารางเมตร
                              2.3   การเก็บข้อมูล

                              2.3.1 การเก็บข้อมูลดิน
                          ท าการสุ่มเก็บตัวอย่างดินในแปลงทดลองก่อนท าการปลูกผักกาดหวาน โดยในปี พ.ศ. 2556 และ
                   พ.ศ. 2557 น าตัวอย่างดินที่เก็บได้ไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์สมบัติทางเคมีดิน ได้แก่ ค่า
                   ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH)  ดินต่อน้ า  1:1  (โดยปริมาตร) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (organic

                   matter)  ใช้วิธีของ Walkley  and  Black  1947  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available
                   Phosphorus)  โดยวิธีการ Bray  II  (Bray  and  Kurtz,  1945)  ปริมาณโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้
                   (Exchangeable  Potassium)  โดยวิธีใช้น้ ายาสกัดแอมโมเนียมอะซิเตรท (NH OAc)  (ส านัก
                                                                                           4
                   นักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547)

                          ส าหรับในปี พ.ศ. 2558 น าตัวอย่างดินที่เก็บได้ไปวิเคราะห์ด้วยชุดตรวจดินภาคสนามของกรม
                   พัฒนาที่ดิน (LDD Test kit)
                              2.3.2 การเก็บข้อมูลด้านพืช
                          ท าการเก็บข้อมูลด้านน้ าหนักสดของส่วนเหนือดินทั้งหมด น้ าหนักสดผักหลังตัดแต่ง และเศษผัก

                   สุ่มตัวอย่างผักสดหลังการตัดแต่งและเศษผักเพื่อน าไปอบแห้งแล้วน าไปวิเคราะห์หาความเข้มข้นของ
                   ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมในตัวอย่างผักหลังการตัดแต่งและเศษผัก จากนั้นจึงน าไป
                   ค านวณหา ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมที่สะสมในผักหลังการตัดแต่ง เศษผักและส่วนที่เหนือดิน

                   ทั้งหมดโดยใช้สูตรในการค านวณ ดังนี้

                      ปริมาณ N หรือ P หรือ K ที่สะสมในผัก (กก./ไร่) =   %N หรือ %P หรือ %K x น้ าหนักแห้ง (กก./ไร่)
                                                                                100
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26