Page 18 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         8


                          ในส่วนของฟอสฟอรัสและโปแตสเซียม ประเมินการใส่ปุ๋ยโดยน าจากผลวิเคราะห์ดินก่อนปลูก
                   ดังแสดงไว้ในตารางที่ 1  และตารางที่  12  มาเทียบกับค่าวิกฤตของฟอสฟอรัสและโปแตสเซียม ซึ่ง

                   พบว่าปริมาณของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินสูงกว่าค่าวิกฤต
                   ดังนั้นจึงไม่จ าเป็นมีการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและปุ๋ยโปแตสเซียมในต ารับการทดลองนี้
                          ดังนั้นการใส่ปุ๋ยในปี พ.ศ. 2556 ของต ารับที่ 4 จะท าการใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งจะใช้ปุ๋ย
                   สูตร 46-0-0 อัตรา 11.94 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นอัตราปุ๋ยที่ใช้ทั้งหมด 10.98-0-0 กิโลกรัม N-P O -
                                                                                                      2 5
                   K O ต่อไร่ และในท านองเดียวกันส าหรับการใส่ปุ๋ยในปี พ.ศ. 2557 ซึ่งจากผลวิเคราะห์ดินก่อนปลูกดัง
                    2
                   แสดงไว้ในตารางที่ 12 สามารถหาอัตราการใส่ปุ๋ยในแต่ละครั้งได้โดยจะใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 9.04
                   กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นอัตราปุ๋ยที่ใช้ทั้งหมด 8.32-0-0 กิโลกรัม N-P O -K O ต่อไร่
                                                                            2 5 2
                          ต ารับที่ 5  ประเมินอัตราการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนจากความต้องการไนโตรเจนของผักกาดหวาน

                   เมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวังและชดเชยไนโตรเจนที่สูญเสียไปกับการชะล้าง 30  เปอร์เซ็นต์ของ
                   ปริมาณไนโตรเจนที่พืชต้องการ ส าหรับการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมพิจารณาจากค่าวิเคราะห์
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ของดินก่อนปลูก ร่วมกับความ
                   ต้องการฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมของผักกาดหวานเมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวังและใส่ชดเชย

                   ธาตุฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมที่สูญเสียไปกับการชะล้างของดิน 30  เปอร์เซ็นต์ของฟอสฟอรัสและ
                   โปแตสเซียมที่พืชต้องการ โดยจะใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมหากค่าวิเคราะห์ปริมาณฟอสฟอรัส
                   ที่เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ต่ ากว่าปริมาณฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมที่พืช
                   ต้องการรวมกับฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมที่ต้องชดเชย

                          การประเมินการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนส าหรับการทดลองในต ารับนี้สามารถค านวณได้จากความ
                   ต้องการไนโตเจนของผักกาดหวานเมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวัง คือ 5,333 กิโลกรัมต่อไร่ (ปวีณา,
                   2551) และชดเชยไนโตรเจนที่สูญเสียไปกับการชะล้าง 30  เปอร์เซ็นต์ของปริมาณไนโตรเจนที่พืช
                   ต้องการจึงท าให้มีความต้องการไนโตรเจนในผลผลิตเท่ากับ  14.17 กิโลกรัม และสามารถประเมิน

                   ปริมาณไนโตรเจนที่ปลดปล่อยจากอินทรียวัตถุในดินโดยใช้ตารางภาคผนวกที่ 2 โดยใช้วิธีการเดียวกัน
                   กับการคิดปริมาณไนโตรเจนที่ต้องใช้ในการทดลองต ารับที่ 4
                          ส าหรับการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมเมื่อพิจารณาจากค่าวิเคราะห์ปริมาณฟอสฟอรัสที่

                   เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ของดินก่อนปลูก  ร่วมกับความต้องการฟอสฟอรัสและ
                   โปแตสเซียมของผักกาดหวานเมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวัง   และใส่ชดเชยธาตุฟอสฟอรัสและ
                   โปแตสเซียมที่สูญเสียไปกับการชะล้างของดิน 30  เปอร์เซ็นต์ของฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมที่พืช
                   ต้องการพบว่ามีปริมาณความต้องการฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมในผลผลิตเท่ากับ 3.13 และ 21.97
                   กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งปริมาณของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินจากการ

                   วิเคราะห์ดินดังแสดงไว้ในตารางที่ 1  และตารางที่  12  มีค่าสูงกว่าค่าวิกฤตดังนั้นจึงไม่จ าเป็นมีการใส่ปุ๋ย
                   ฟอสฟอรัสและปุ๋ยโปแตสเซียมในต ารับการทดลองนี้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23