Page 19 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
ดังนั้นการใส่ปุ๋ยในปี พ.ศ. 2556 ของต ารับที่ 5 จะท าการใส่ปุ๋ย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งจะใช้ปุ๋ย
สูตร 46-0-0 อัตรา 18.90 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นอัตราปุ๋ยที่ใช้ทั้งหมด 17.39-0-0 กิโลกรัมN-P O -
2 5
K O ต่อไร่ และในท านองเดียวกันส าหรับการใส่ปุ๋ยในปี พ.ศ. 2557 ซึ่งจากผลวิเคราะห์ดินก่อนปลูกดัง
2
แสดงไว้ในตารางที่ 13 สามารถหาอัตราการใส่ปุ๋ยในแต่ละครั้งได้โดยจะใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา
12.57 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นอัตราปุ๋ยที่ใช้ทั้งหมด 11.56-0-0 กิโลกรัม N-P O -K O ต่อไร่
2 5 2
ต ารับที่ 6 ประเมินอัตราการใส่ปุ๋ยจากค่าวิเคราะห์ดินตามค าแนะน าของผักกินใบของกรม
วิชาการเกษตรโดยใช้ข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ดินในปี พ.ศ. 2556 ดังแสดงไว้ในตารางที่ 1 และ
ข้อมูลจากตารางภาคผนวกที่ 1 ในการประเมินอัตราการใส่ปุ๋ย ซึ่งดินมีปริมาณอินทรียวัตถุ 4.57
เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 190 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ 171
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ดังนั้นการใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตรจึงต้องใช้ปุ๋ยไนโตรเจน ปุ๋ย
ฟอสฟอรัส และปุ๋ยโปแตสเซียม อัตรา 10-5-5 กิโลกรัม N-P O -K O ต่อไร่ โดยใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0
2 5 2
อัตรา 16.30 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ยสูตร 0-46-0 อัตรา 11 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยสูตร 0-0-60 อัตรา 9
กิโลกรัมต่อไร่ ในการใส่ปุ๋ยครั้งแรกและใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 17 กิโลกรัมต่อไร่ ในการใส่ปุ๋ยครั้ง
ที่ 2
ส าหรับการใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าของกรมวิชาการเกษตรในปี พ.ศ. 2557 ก็ใช้ข้อมูลจากผลการ
วิเคราะห์ดินในปี พ.ศ. 2557 ดังแสดงไว้ในตารางที่ 12 และตารางภาคผนวกที่ 1 ในการประเมินอัตรา
การใส่ปุ๋ยเช่นเดียวกับในปี พ.ศ. 2556 ซึ่งจะใช้ปุ๋ยไนโตรเจน ปุ๋ยฟอสฟอรัส และปุ๋ยโปแตสเซียม ใน
อัตรา 10-5-5 กิโลกรัม N-P O -K O ต่อไร่ โดยใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 16.30 กิโลกรัมต่อไร่ ปุ๋ยสูตร
2 5 2
0-46-0 อัตรา 11 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยสูตร 0-0-60 อัตรา 9 กิโลกรัมต่อไร่ ในการใส่ปุ๋ยครั้งแรกและ
ใช้ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 17 กิโลกรัมต่อไร่ ในการใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2
5) ดูแลรักษาแปลงโดยมีการให้น้ าด้วยระบบน้ าหยด รวมทั้งด าเนินการป้องกันก าจัด
วัชพืชและก าจัดศัตรูพืช
6) ท าการสุ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตภายหลังการย้ายกล้าปลูกได้ 30 วัน ส าหรับการ
ทดลองในปี พ.ศ. 2556 และปี พ.ศ. 2557 ใช้พื้นที่เก็บเกี่ยว 2 ตารางเมตรต่อ 1 แปลงทดลอง
2.2.2 การด าเนินงานในช่วงที่ 2 ปี พ.ศ.2558
1) ท าการคัดเลือกพื้นที่ด าเนินการ 3 แห่ง คือ ในโรงเรือนพลาสติกของศูนย์พัฒนา
โครงการหลวงทุ่งหลวงซึ่งมีระบบการให้น้ าด้วยระบบน้ าหยด และในโรงเรือนพลาสติกของเกษตรกร 2
ราย คือ นายเสกสรร เจริญสุขบุญสังข์ และ นายชาคริต กิตติศรีสกุล ซึ่งโรงเรือนทั้ง 2 แห่งมีการให้น้ าด้วย
ระบบสปริงเกอร์
2) เตรียมแปลงทดลองในพื้นที่โรงเรือนที่คัดเลือกไว้โดยในโรงเรือนของศูนย์พัฒนา
โครงการหลวงทุ่งหลวงใช้พื้นที่ในแต่ละต ารับการทดลองขนาด 36 ตารางเมตร โรงเรือนของนายเสกสรร