Page 15 - การใช้ประโยชน์ของชุดตรวจดินภาคสนามสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ยในการปลูกผักในพื้นที่โครงการหลวง
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                         5


                                                  อุปกรณ์และวิธีด าเนินการ

                          1.  อุปกรณ์
                              1.1  ต้นกล้าผักกาดหวาน
                              1.2  ปุ๋ยเคมี สูตร 46-0-0 15-0-0 15-15-15 0-46-0 0-0-60 13-13-21 และ 16-20-0
                              1.3  ปุ๋ยหมัก
                              1.4  ท่อน้ าหยด สปริงเกอร์

                              1.5  เทปวัดระยะ
                              1.6  เครื่องชั่ง
                              1.7  จอบ เสียม มีด
                              1.8  สารเคมีป้องกันก าจัดวัชพืชและศัตรูพืช

                              1.9  ป้ายแปลงทดลอง
                              1.10  หลอดเจาะดิน (soil tube)


                          2.   วิธีด าเนินการ
                              2.1  วางแผนการทดลอง
                          การทดลองในปี พ.ศ.2556  และปี พ.ศ.  2557  ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อค
                   (randomized complete block design) จ านวน 4 ซ้ า 6 ต ารับการทดลองดังนี้
                          ต ารับที่ 1  ควบคุม (ไม่ใส่ปุ๋ยทุกชนิด)

                          ต ารับที่ 2  ใส่ปุ๋ยตามวิธีการและอัตราที่เกษตรกรเคยปฏิบัติ
                          ต ารับที่ 3  ใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าจากคู่มือการปลูกผักบนพื้นที่สูง (ส านักพัฒนาเกษตรที่สูง,
                                    2546)

                          ต ารับที่ 4  ประเมินอัตราการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนจากปริมาณไนโตรเจนจากค่าวิเคราะห์
                   อินทรียวัตถุ ปริมาณไนโตรเจนที่ปลดปล่อยจากอินทรียวัตถุตลอดช่วงเวลาของการเพาะปลูก ความ
                   ต้องการไนโตรเจนของผักกาดหวานเมื่อให้ผลผลิตในระดับที่คาดหวัง โดยถือว่าพืชมีประสิทธิภาพใน
                   การดูดใช้ไนโตรเจนจากปุ๋ยไนโตรเจนที่ใส่ลงไปในดิน 50  เปอร์เซ็นต์  ส่วนการใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและ

                   โปแตสเซียมประเมินจากปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ของดินซึ่ง
                   ได้จากค่าวิเคราะห์ดินในช่วงก่อนการเพาะปลูก โดยจะใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสและโปแตสเซียมถ้าค่าวิเคราะห์
                   ดินต่ ากว่าค่าวิกฤตในปริมาณที่ท าให้ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดิน
                   เพิ่มขึ้นจนถึงจุดค่าวิกฤต โดยปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์มีค่าวิกฤตเท่ากับ 10 มิลลิกรัมต่อ

                   กิโลกรัมและโปแตสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มีค่าวิกฤตเท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20