Page 40 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                                                                                วิธีการด าเนินการวิจัย



                                                                     ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง




                                ก าหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย                                                  การสร้างแบบสัมภาษณ์




                                   ตั้งสมมติฐานในการวิจัย
                                                                                 ส่วนที่ 1           ส่วนที่ 2            ส่วนที่ 3             ส่วนที่ 4
                                                                               ข้อมูลส่วนบุคคล   ข้อมูลประวัติการท า    ข้อมูลการผลิต        ข้อมูลปัจจัยเสริม
                            การคัดเลือกและก าหนดประชากรกลุ่มตัวอย่าง                               เกษตรอินทรีย์        เกษตรอินทรีย์           ส่วนที่ 5
                               เป็นการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง คือ                                                                           ข้อมูลภาพรวมของกลุ่ม
                        กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมทดลองระบบ PGS  ปี 2558
                        จ านวน 6 กลุ่ม จาก 6 จังหวัด จ านวน 275 คน                          การทดสอบแบบสอบถามโดยผู้ทรงคุณวุฒิด้านเกษตรอินทรีย์
                           1. กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย จ. สุรินทร์                        จ านวน 3 ท่าน  (หาค่าดัชนีความสองคล้อง IOC)
                           2. กลุ่มพีจีเอส สุขใจออร์แกนิค จ. นครปฐม                             ข้อค าถามที่ผ่านการทดสอบ น าไปใช้สัมภาษณ์ได้
                           3. กลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์เชียงใหม่
                           4. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์แม่มอก จ. ล าปาง
                           5. กลุ่มปลูกฮัก จ. ยโสธร                                                  เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์
                           6. กลุ่มเกษตรอินทรีย์ศรีเพท จ. เพชรบูรณ์

                                                                                                           วิเคราะห์ข้อมูล
                                                                           1. สถิติวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics Analysis) โดยใช้ค่าร้อยละ (Percentage) และความถี่ (Frequency)
                                                                           และน าเสนอข้อมูลในตารางเพื่ออธิบายเบื้องต้นเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง
                                                                           2. สถิติวิเคราะห์เชิงอนุมาน (Inferential Statistical Analysis) ได้แก่ chi square / Multiple Regression / t-test


                                                                                                         สรุปผลการศึกษา


                                                                               ภาพที่ 3 แผนภาพสรุปขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45