Page 15 - มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูงในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำแม่จันตอนบน ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
P. 15
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
5
จาก V.I.=(S+6)/10 เมื่อ S เป็นค่าเปอร์เซ็นต์ของความลาดชัน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2534) นอกจากนี้
ยังพบว่า ในปัจจุบันได้มีการน าเอาหญ้าแฝกเข้ามาร่วมในระบบการอนุรักษ์ดินและน้ า เนื่องจากเป็น
พืชที่มีระบบรากลึกท าให้สามารถยึด และดักตะกอนดินไม่ให้ลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติได้ ซึ่งจากผล
การศึกษาเกี่ยวกับมาตรการปลูกแถบหญ้าระยะห่างต่างๆ กันในการอนุรักษ์ดินและน้ าบนพื้นที่สูง
วาสุเทพและคณะ, 2543 พบว่า การปลูกข้าวไร่ระหว่างแถบหญ้าแฝกตามค่า V.I.=3 เมตร และ
วิธีการปลูกข้าวระหว่างแถบหญ้ารูซี่ตามค่า V.I.=3 เมตร ที่ความลาดชันเนินเขา 20-35 เปอร์เซ็นต์
เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดิน รวมทั้งการให้ผลผลิตตอบ
แทนที่คุ้มค่า เพราะวิธีการทั้งสองสามารถชะลอปริมาณน้ าไหลบ่าให้ลงดินได้มากขึ้น ช่วยกรอง
ตะกอนและไม่เสียพื้นที่เพาะปลูกไปมากนัก
ในด้านการศึกษาถึงระยะที่เหมาะสมของแถบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยเฉพาะคูรับน้ าขอบเขา
นั้นมีน้อยมาก แต่การศึกษาระยะห่างของแถบอนุรักษ์ชนิดอื่นนั้น พบว่า การใช้ระยะห่างของคันดิน
เพิ่มขึ้นจากระยะปกติที่ใช้กันอยู่ 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นระยะห่างที่เหมาะสมในการสร้างคันดิน (วันเลิศ
และคณะ, 2526) ในขณะมีผลงานวิจัยบางส่วนที่ระบุว่า พื้นที่ใดควรจะใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
อย่างไร จึงจะมีประสิทธิภาพสูงสุด การใช้แถบพืชปลูกแทนคันดินขวางความลาดเท เป็นมาตรการ
อนุรักษ์ดินและน้ าวิธีการหนึ่งที่ได้รับการยอมรับ ว่าเป็นมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม มี
ประสิทธิภาพสูงวิธีการหนึ่ง โดยเฉพาะ การใช้แถบหญ้าแฝก แต่การใช้แถบพืชชนิดอื่นๆ ยังมีงานวิจัย
ด้านนี้อยู่น้อย เช่น การใช้แถบกระถินเป็นแถบพืชอนุรักษ์ฯโดยการปลูกกระถิน 12 แถว ระยะห่าง
ระหว่างแถว 12.5 เซนติเมตร เป็นแถบกว้าง 1.50 เมตร แทนคันดินที่มีระยะห่างตามค่า HI และ
ระหว่างแถบกระถินปลูกถั่วลิสงตามด้วยถั่วเขียว มีอัตราการสูญเสียดินและน้ าน้อยที่สุดและให้ผลผลิต
ถั่วลิสง ถั่วเขียวสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีระบบอนุรักษ์ฯ (วาสุเทพ และคณะ, 2537)
จากการศึกษาของส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา พบว่าระบบพืชเพื่อ
การอนุรักษ์ดินและน้ ามีหลายระบบที่เหมาะสม กรณีเกษตรกรต้องการมีรายได้เสริมจากระบบปลูก
พืช ควรใช้ชาเป็นแถบพืชอนุรักษ์ ซึ่งเกษตรกรสามารถเก็บเกี่ยวชาได้ในปีที่ 3 กรณีต้องการปลูกพืชไร่
อย่างเดียว ควรใช้แถบหญ้าแฝก เป็นมาตรการอนุรักษ์ฯ ใช้ร่วมกับการปลูกพืชสลับเป็นแถบ ซึ่งจะ
ช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินได้ระดับหนึ่ง ระบบการปลูกพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ าที่ใช้
แถบหญ้า เช่น หญ้าเซลทาเรีย หญ้าซิกแนล หญ้าบาเฮียเป็นต้น ปลูกโดยให้มีแถบหญ้ากว้าง 1-2
เมตร มีประสิทธิภาพในการปูองกันการชะล้างพังทลายของดินสูงขึ้น เมื่ออายุของแถบหญ้ามากขึ้น
ระบบการปลูกพืชเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ าที่ใช้แถบชากว้าง 1 เมตร เป็นมาตรการอนุรักษ์ดินและ
น้ า โดยใช้ชาปลูกเป็นแถวคู่ ขวางความลาดชันของพื้นที่ระยะห่างระหว่างแถบชาในแนวดิ่ง 3 เมตร
บริเวณแถบชาใช้เป็นที่ทิ้งวัชพืชที่ถูกก าจัด ซึ่งวัชพืชเหล่านี้จะสลายตัวเป็นอินทรียวัตถุ ไปเป็น
ประโยชน์แก่ชาที่ปลูกไว้ นอกจากนั้นชาที่ปลูกในแถบสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ในปีที่ 3 ท าให้