Page 12 - มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูงในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำแม่จันตอนบน ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
P. 12
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2
(Gully) และการเกิดดินถล่ม (Land slide) เป็นต้น ปัญหาการชะล้างและการสูญเสียดินในประเทศ
ไทยนั้น พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่มีการสูญเสียดินระหว่าง 0-50 ตันต่อไร่ต่อปี โดยภาคใต้มีการสูญเสียดิน
สูงกว่าภาคอื่นๆ ขณะที่ภาคเหนือนั้น พื้นที่ส่วนใหญ่มีการสูญเสียดิน อยู่ระหว่าง 0-38 ตันต่อไร่ต่อปี
ซึ่งการสูญเสียดินสูงสุดเกิดขึ้นในพื้นที่ลาดชันสูงที่มีการปลูกพืชไร่ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)
มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า ทั้งวิธีกลและวิธีทางพืช ที่นับว่ามีประสิทธิภาพในการปูองกัน
และลดปัญหาดังกล่าว ได้แก่คูรับน้ าขอบเขา และแถบหญ้าแฝก โดยระยะหลังส่วนใหญ่จะเน้นการใช้
วิธีการทางพืชมากขึ้น แต่วิธีการทางพืชนั้นมี ปัญหาในทางปฏิบัติ กล่าวคือแถบหญ้าแฝกมีปัญหา
เสียหายจากการที่เกษตรกรใช้สารเคมีก าจัดวัชพืชรวมถึงการบังร่มเงาของวัชพืชและไม้โตเร็วที่เกิด
จากการทิ้งพื้นที่ (fallow) จากการด าเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน พบว่า มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
บนพื้นที่ลาดชัน ที่นับว่ามีประสิทธิภาพในด้านการปูองกันตะกอนดินไม่ให้ลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ
ระบบหนึ่ง คือ คูรับน้ าขอบเขา (hill side ditch) เป็นการท าคูรับน้ าตามแนวระดับขวางความลาดเท
เว้นช่วงเป็นระยะๆประมาณ 10-12 เมตร และมีความกว้างคูน้ าแบบผนังด้านนอกเอียงเข้า 2 เมตร
(กรมพัฒนาที่ดิน, 2534) โดยมีระยะห่างคูรับน้ าขอบเขา ผันแปรไป ตามความลาดชันของพื้นที่ ท าให้
ต้องมีการวิจัยต่อไปเพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืนในพื้นที่สูง และท าให้ปัญหาการบุกรุกท าลาย
ปุาเพื่อหาพื้นที่ปลูกข้าวไร่ลดลง พื้นที่มีจ ากัดท าให้เกิดปัญหาข้าวไม่เพียงพอต่อการบริโภคในพื้นที่สูง
ซึ่งมีความส าคัญต่อวิถีชีวิตของผู้คนที่อาศัยอยู่ แต่เมื่อจ าเป็นต้องใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลาดชันสูง
จึงต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม เพื่อปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน เมื่อมีการ
รบกวนหน้าดินโดยเฉพาะการปลูกพืชไร่ มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าทั้งวิธีกลและวิธีทางพืชที่นับว่ามี
ประสิทธิภาพในการปูองกัน และลดปัญหาดังกล่าว ได้แก่ คูรับน้ าขอบเขา และแถบพืชอนุรักษ์ดิน
และน้ า โดยระยะหลังส่วนใหญ่จะเน้นการใช้วิธีการทางพืชมากขึ้น แต่วิธีการทางพืชนั้นมักจะมีปัญหา
ในทางปฏิบัติ และจากการด าเนินงานของกรมพัฒนาที่ดิน พบว่า เมื่อน าไปประยุกต์ใช้ร่วมกับระบบ
การปลูกข้าวไร่ ระยะระหว่างแถบอนุรักษ์ดังกล่าวเมื่อน ามาใช้บนพื้นที่สูงจะท าให้เกษตรกรต้องเสีย
พื้นที่ปลูกค่อนข้างมาก ในบางพื้นที่อาจมากถึง 25 เปอร์เซ็นต์ ของพื้นที่เพาะปลูก จึงท าให้เกษตรกร
ไม่นิยมน าไปปฏิบัติในพื้นที่ ก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการเพาะปลูกที่ขาดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
ดังนั้นการขยายระยะห่างระหว่างคูรับน้ ารอบเขาเพื่อให้มีพื้นที่เพาะปลูกมากขึ้น น่าจะเป็นวิธีการหนึ่ง
ที่จูงใจให้เกษตรกรหันมายอมรับในระบบอนุรักษ์ดินและน้ า จึงได้ศึกษามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่
เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูง ในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าแม่จันตอนบน ต าบลแม่สลองนอก
อ าเภอแม่ฟูาหลวง จังหวัดเชียงราย ในพื้นที่หมู่บ้านตงจาใส หมู่ที่ 13 ต าบลแม่สลองนอกอ าเภอแม่
ฟูาหลวง จังหวัดเชียงราย เมื่อเดือน ตุลาคม พ.ศ.2557 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ.2559