Page 72 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 72

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       59






                                                             บทที่ 4

                                                           ผลการศึกษา

                       4.1 การวิเคราะห์พื้นที่และวางแผนออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้้า

                              4.1.1 สภาพพื้นที่และขอบเขตของโครงการ

                                     1) สภาพภูมิประเทศของโครงการ อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลาง ประมาณ 380-
                       474 เมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นลูกคลื่นลอนชันถึงพื้นที่สูงชันมากที่สุด (ภาพที่ 2 และ 4) 64
                       เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่โครงการ มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ขอบเขตโครงการ จ านวน
                       396.20 ไร่ สามารถแบ่งพื้นที่รับน้ าย่อยออกเป็น 6 พื้นที่ ตามภาพที่ 23 และตารางที่ 11 พื้นที่รับน้ า

                       A น้ าไหลบ่าจากทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือสู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพื้นที่ เนื้อที่ 74.44 ไร่ หรือร้อย
                       ละ 18.79 ของพื้นที่โครงการ พื้นที่รับน้ าย่อย B  น้ าไหลบ่าจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศ
                       ตะวันตกเฉียงใต้ เนื้อที่ 67.19 ไร่ หรือร้อยละ 16.96 ของพื้นที่โครงการ พื้นที่รับน้ าย่อย C น้ าไหลบ่า

                       จากทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ เนื้อที่ 111.34 ไร่ หรือร้อยละ 28.10 ของพื้นที่
                       โครงการ พื้นที่รับน้ าย่อย D  น้ าไหลบ่าจากทิศใต้ลงสู่ทิศเหนือ เนื้อที่ 51.78 ไร่ หรือร้อยละ 13.07
                       ของพื้นที่โครงการ พื้นที่รับน้ าย่อย E  น้ าไหลบ่าจากทิศตะวันตกลงสู่ทิศตะวันออก เนื้อที่ 58.43 ไร่
                       หรือร้อยละ14.75 ของพื้นที่โครงการ และพื้นที่รับน้ าย่อย F  น้ าไหลบ่าจากทิศตะวันตกลงสู่ทิศ
                       ตะวันออก เนื้อที่ 33.02 ไร่ หรือร้อยละ 8.33 ของพื้นที่โครงการ


                       ตารางที่ 11 พื้นที่รับน้ าย่อยของโครงการ

                              พื้นที่                       เนื้อที่                       ร้อยละ
                                                  (ไร่)          (ตารางกิโลเมตร)
                               A                 74.44                0.12                 18.79

                               B                 67.19                0.11                 16.96
                               C                 111.34               0.18                 28.10
                               D                 51.78                0.08                 13.07
                               E                 58.43                0.09                 14.75

                               F                 33.02                0.05                 8.33
                              รวม               396.20                0.63                100.00

                                     2) การค านวณอัตราน้ าไหลบ่าสูงสุด (Q) โดย Rational  Method  ตามสมการที่ 1
                       ที่ได้อธิบายในบทที่ 1 โดยพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า (C) ได้จากตารางที่ 9 ในบทที่ 3 ซึ่ง
                       พื้นที่โครงการ เป็นพื้นที่เพาะปลูก (Cultivated) มีความลาดเทมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ เนื้อดินเป็น

                       ดินร่วนปนเหนียว จึงเลือกค่า C เท่ากับ 0.52 ส่วนค่าความเข้มเฉลี่ยของพายุฝนในช่วงเวลาที่น้ าไหล
                       จากจุดไกลสุดของพื้นที่ถึง outlet (Rainfall intensity) (i) นั้น ได้พิจารณาจากช่วงเวลาที่น้ าไหลจาก
                       จุดไกลสุดของพื้นที่ถึงจุดทางออก (T ) และกราฟ IDF Curve ในรอบการเกิดซ้ า 5 ปี (ภาพที่ 1 ในบทที่
                                                    c
                       1) ส่วนขนาดของพื้นที่รับน้ า (A) ได้แสดงในตารางที่ 11  เมื่อน าค่าตัวแปรต่าง ๆ แทนค่าในสมการที่ 2
                       ในบทที่ 1 เพื่อหาอัตราน้ าไหลบ่าสูงสุดของพื้นที่รับน้ า พบว่า พื้นที่โครงการมีอัตราน้ าไหลบ่าสูงสุด รวม
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77