Page 27 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             16




                                       3) ส ารวจแปลงอยํางสม่ าเสมอ ก าจัดวัชพืช และแมลงศัตรูพืชตามความจ าเป็น

                               2.2.5 การเก็บเกี่ยว
                                       1) ก าหนดขนาดพื้นที่เก็บเกี่ยวผลผลิตข๎าว 10 ตารางเมตร เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ๎า
                   (ขนาด 2x5 เมตร) ในแตํละแปลงยํอย (กรมวิชาการการเกษตร, 2552)
                                       2) สุํมเก็บตัวอยํางเพื่อหาองค์ประกอบผลผลิตข๎าว 1x1 ตารางเมตร

                               2.2.6  เก็บตัวอยํางดิน แบบ composite  sampling ที่ระดับความลึก 0–15 เซนติเมตร
                   กํอนท าการทดลอง และเก็บตัวอยํางดินในแตํละแปลงยํอยหลังเก็บเกี่ยวทุกปี
                          2.3 การเก็บรวบรวมข๎อมูล
                                2.3.1  ข๎อมูลวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตร สุํมเก็บตัวอยํางถํานแกลบ ถํานซังข๎าวโพด และ

                   มูลวัว แบบ composite  sampling ทุกปี เพื่อสํงวิเคราะห์สมบัติบางประการของวัสดุปรับปรุงดิน ได๎แกํ
                   ความเป็นกรดเป็นดําง (pH) โดยวิธี พืช : น้ า 1 : 1 วัดด๎วย pH meter  ปริมาณอินทรีย์คาร์บอน (%OC)
                   โดยวิธี Walkley and Black method ปริมาณไนโตรเจน โดยวิธี Kjedahl method ปริมาณฟอสฟอรัส
                   ที่เป็นประโยชน์ (Available P) โดยใช๎วิธี Vanadomolybdate  (Barton)  method ปริมาณธาตุ

                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (Available K) วัด Flame Photometer และคําการน าไฟฟูา (EC) โดยวิธี
                   Conductivity method (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553ก)
                                2.3.2 ข๎อมูลดิน เตรียมตัวอยํางดิน (บด รํอน) เพื่อสํงวิเคราะห์สมบัติทางเคมีบางประการ

                   เชํน ความเป็นกรดเป็นดํางของดิน (pH) โดยวิธี ดิน : น้ า 1 : 1 วัดด๎วย pH meter  ปริมาณอินทรียวัตถุ
                   ในดิน (OM)  โดยวิธี Walkley and Black method  ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ โดยวิธี
                   Double  acid  ปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ โดยวิธี ammonium  acetate  1  N  pH  7
                   อัตราสํวน 1 ตํอ 20 และเนื้อดิน (Texture) โดยวิธี Hydrometer Method (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553ข)
                                2.3.3 ข๎อมูลพืช

                                      1) เก็บข๎อมูลความสูงข๎าว (วัดจากพื้นดินถึงข๎อใบธง จ านวน 10  ต๎นตํอแปลงยํอย
                   ครั้งเดียวกํอนเก็บเกี่ยว)
                                      2) เก็บข๎อมูลองค์ประกอบผลผลิตข๎าว เก็บข๎อมูลจ านวนต๎นและจ านวนรวงตํอพื้นที่

                   (ขนาดพื้นที่ 1x1  เมตร) จ านวนเมล็ดตํอรวง จ านวนเมล็ดดี เปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบ (สุํมตัวอยําง 10 รวงตํอ
                   แปลงยํอย) น้ าหนัก 100 เมล็ด และน้ าหนักฟาง (ขนาดพื้นที่ 1x1 เมตร)
                                      3)  เก็บข๎อมูลผลผลิตตํอไรํ ที่ความชื้น 14  เปอร์เซ็นต์ โดยค านวณจากพื้นที่เก็บเกี่ยว
                   10 ตารางเมตร

                                2.3.4 ข๎อมูลด๎านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยบันทึกคําใช๎จํายของแตํละต ารับการทดลอง
                          2.4  วิเคราะห์ข๎อมูลแปลงข๎าว ได๎แกํ ความเป็นกรดเป็นดํางของดิน ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                   ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน ปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎ในดิน ความสูง
                   องค์ประกอบผลผลิต และผลผลิต โดยวิเคราะห์ข๎อมูลทางสถิติด๎วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน

                   (Analysis  of  variance:  ANOVA)  และเปรียบเทียบความแตกตํางของคําเฉลี่ยโดยวิธี Duncan's
                   Multiple Range Test (DMRT)
                          2.5 เขียนรายงานผลการวิจัย
                                2.5.1 รายงานความก๎าวหน๎ารายเดือน และรายงานความก๎าวหน๎าแบบ ต-1ขด

                                2.5.2 รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ (วจ.3) เมื่อสิ้นสุดโครงการ (เดือนมีนาคม 2560)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32