Page 31 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        18

                   ฮอรโมน (Growth hormones) และแรธาตุ (Minerals) ชวยในการสงเสริมการเจริญเติบโตของพืช เรง

                   การเจริญเติบโตของรากพืช กระตุนการงอกของเมล็ด และชวยยอยสลายตอชังพืช เพิ่มการขยายตัวของใบ
                   และลําตน การผลิตน้ําหมักชีวภาพสูตรกรมพัฒนาที่ดิน สามารถผลิตได 2 สูตร คือ น้ําหมักชีวภาพผัก

                   และผลไม และน้ําหมักชีวภาพจากปลาหรือหอยเชอรี่ โดยใชสารเรงซุปเปอร พด.2 ซึ่งเปนกลุมจุลินทรีย ที่

                   มีคุณสมบัติพิเศษในการเพิ่มประสิทธิภาพการยอยโปรตีน ไขมัน ชวยลดกลิ่นเหม็น ระหวางหมักและเพิ่ม
                   การละลายธาตุอาหารในการหมักเปลือกไข กาง และกระดูกสัตว  เพื่อใชในการผลิตน้ําหมักชีวภาพใน

                   เวลาอันสั้นและไดคุณภาพ ประกอบดวยจุลีนทรีย 5 สายพันธุ ไดแก ยีสตผลิตแอลกอฮอล และกรด

                   อินทรียแบคทีเรียผลิตกรดแลคติก แบคทีเรียยอยสลายโปรตีน แบคทีเรียยอยสหายไขมัน และแบคทีเรีย
                   ละลายอนินทรียฟอสฟอรัส (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)

                          การผลิตน้ําหมักชีวภาพโดยใชสารเรงซุปเปอร พด.2 มีสวนผสมในการผลิตน้ําหมักชีวภาพ คือ

                   เศษเนื้อสัตวและผลไมหรือผักผลไม 40 กิโลกรัม กากน้ําตาล 10 กิโลกรัม น้ํา 10 ลิตร สารเรงซุปเปอร
                   พด.2 จํานวน 1 ซอง (25 กรัม) ใชระยะเวลาหมัก 21 วัน ประโยชนของน้ําหมักชีวภาพจะชวยเรงการ

                   เจริญเติบโตของรากพืช เพิ่มการขยายตัวของใบและลําตน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)
                          จากรายงานผลการวิเคราะหน้ําหมักชีวภาพสูตรตาง ๆ เชน สูตรปุยปลาของสถาบันวิจัย

                   วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ซึ่งใชเศษปลาบดยอย 100 กิโลกรัม กรดฟอรมิก (98 เปอรเซ็นต)

                   3.5 ลิตร และน้ําตาลทราย 20 กิโลกรัม หมัก 28 วัน พบวามีโนโตรเจน 0.2 เปอรเซ็นต ฟอสฟอรัส 0.05
                   เปอรเซ็นต และโพแทสเซียม1-2 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ยังมีธาตุอาหารลองหลายชนิด เชน ออกซิน จิบ

                   เบอเรลลิน และโซโตไคนิน ขึ้นกับวัตถุดิบในการนํามาหมักโดยเฉพาะวัตถุดิบจากเศษพืช
                          จากการศึกษาองคประกอบทางเคมีและชีวภาพแตละชนิด ที่วิเคราะหโดยกรมพัฒนาที่ดินและ

                   กรมวิชาการเกษตร พบวา น้ําหมักชีวภาพ ประกอบดวย ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ทั้งนี้ปริมาณธาตุ

                   อาหารตาง ๆ ในน้ําหมักชีวภาพ แตละชนิด จะมีความแตกตางกันขึ้นอยูกับวัสดุอินทรียนํามาใชหมัก
                   รายละเอียดดังตารางที่ 3
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36