Page 28 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        15

                   อาหารที่มีอยูในดิน สภาพความเปนกรดเปนดาง แลวนํามาเปรียบเทียบกับปริมาณความตองการธาตุ

                   อาหารของพืชที่ปลูกในแตละฤดู จากนั้นจึงคํานวณปริมาณธาตุอาหารหลักเพิ่มตามคําแนะนํา ซึ่งอาจเลือก
                   ปุยสูตรที่มีสัดสวนใกลเคียง กับคําแนะนําการใชปุยใหมากที่สุด หรือหากดินมีปญหา ตองปรับปรุงแกไข

                   กอนการปลูกพืชหรือกอนการใสปุย เพื่อเปนการลดขอจํากัดของการดูดซึมธาตุอาหารของพืช และเปนการ

                   เพิ่มประสิทธิภาพการใชปุย (วันชัย, ม.ป.ป.) การใชปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน คือ การใชปุยเทาที่จําเปน
                   (พอดี) ตามความตองการของพืช หากดินมีปญหาตองมีการจัดการที่ถูกตองเหมาะสม โดยมีการประเมิน

                   หรือวิเคราะหความอุดมสมบูรณของดินกอนการปลูกพืช ซึ่งอาจไดจากกรตรวจสอบจากโปรแกรมดินไทย

                   และธาตุอาหารพืช หรือการเก็บดินวิเคราะหเพื่อใหทราบถึงปริมาณธาตุอาหารที่อยูในดิน สภาพความเปน
                   กรด-เปนดาง แลวนํามาเปรียบเทียบกับปริมาณความตองการธาตุอาหารของพืชที่ปลูกในแตละฤดู จากนั้น

                   จึงคํานวณปริมาณธาตุอาหารหลัก เพิ่มตามคําแนะนํา ซึ่งอาจเลือกสูตรปุยที่มีสัดสวนใกลเคียงกับ

                   คําแนะนําการใชปุยใหมากที่สุด (วันชัย, 2556)
                          ปุยเคมี หมายถึงปุยที่ไดจากสารอนินทรียหรืออินทรียสังเคราะห รวมถึงปุยเชิงเดี่ยวหรือแมปุยที่มี

                   ธาตุอาหารหลักธาตุเดียว ปุยเชิงผสมหรือปุยเคมีที่ไดจากการผสมเพื่อใหไดธาตุอาหารพืชตามที่ตองการ
                   และปุยเชิงประกอบหรือปุยเคมีที่ทําดวยกรรมวิธีทางเคมีเพื่อใหไดธาตุอาหารพืชสองธาตุขึ้นไป การเกษตร

                   ในปจจุบันปุยเคมียังมีความจําเปนเพราะใหธาตุอาหารกับพืชไดมากที่สุดเพียงพอตอความตองการของพืช

                   ในขณะที่ปุยอินทรียใหปริมาณธาตุอาหารนอยมากไมเพียงพอตอความตองการของพืชปุยอินทรียเหมาะที่
                   จะนําไปปรับปรุงดินเพื่อทําใหโครงสรางของดินดีขึ้นมากกวาจะนําไปเปนธาตุอาหารใหกับพืชสวนปุย

                   ชีวภาพในทางวิชาการไมถือวาเปนปุย เพราะเปนเพียงจุลินทรียดินไมมีธาตุอาหารพืชเปนไดแค
                   สวนประกอบสวนหนึ่งของปุยอินทรียเทานั้น (สรสิทธิ์, 2540)

                          การใชปุยเคมีเมื่อใสปุยเคมีลงในดิน จะมีโอกาสสูญเสียไปมากกวาครึ่งหนึ่งสําหรับธาตุไนโตรเจน

                   และโพแทสเซียมสวนฟอสฟอรัสนั้นพืชดึงดูดไปใชประโยชนไดไมเกิน 10 เปอรเซ็นตของปริมาณที่ใสลงไป
                   ในดินฟอสฟอรัสที่เหลือทั้งหมดจะทําปฏิกิริยากับดินกลายเปนสารประกอบที่ละลายน้ํายาก พืชดึงดูดไปใช

                   ไมได ดังนั้นการใสปุยเคมีลงไปในดินเพื่อใหพืชสามารถดึงดูดไปใชไดมากที่สุดและสูญเสียนอยที่สุดจึงมี

                   ความสําคัญเปนอยางยิ่ง โดยปุยชนิดเดียวกันและสูตรเดียวกันใสลงในดินดวยวิธีแตกตางกัน  พืชจะใช
                   ประโยชนจากปุยเคมีไดไมเทากัน ตัวอยาง ปุยที่ใสแบบหวานจะใหผลแตกตางจากปุยที่ใสแบบโรยเปนแถว

                   หรือเปนจุดใกลพืช ดังนั้นการใชปุยเคมีใหมีประสิทธิภาพ จึงควรยึดหลักเกณฑ คือ
                          ชนิดของปุยเคมี หมายถึง เรโซ สูตร และรูปของธาตุอาหารในปุยตามที่ตองการซึ่งกรมวิชาการ

                   เกษตรแนะนํา เรโซปุยที่เหมาะสมกับมันสําปะหลัง คือ 2:1:2 ซึ่งหมายถึงสัดสวนเปรียบเทียบกันระหวาง

                   โนโตรเจน (N) กับฟอสฟอรัส (P O ) และโพแทสเซียม (K O) สูตรปุยหรือเกรดปุยที่แนะนํา ไดแก 15-7-
                                                                   2
                                              2 5
                   18 หรือ 16-8-14 หรือ ถาหาปุยเคมีสูตรดังกลาวไมไดสามารถใชปุยเคมีสูตร 15-15-15 แทนไดจึงมีขาย
                   อยางแพรหลายตามทองตลาดทั่วไป
                          ปริมาณการใชปุยเคมี หมายถึง อัตราปุยตอไรไมเหมาะสมในการผลิตมันสําปะหลัง ซึ่งกรม

                   วิชาการเกษตรไดแนะนําการใชในดินทราย ใชอัตรา 90 กิโลกรัมตอไร ดินรวนปนทราย ใชอัตรา 70
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33