Page 29 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        16

                   กิโลกรัมตอไร ดินรวนปนดินเหนียว ใชอัตราสวน 50 กิโลกรัมตอไร ดินเหนียวสีแดง ใชอัตราสวน 30

                   กิโลกรัมตอไร และดินเหนียวสีดํา ใชอัตราสวน 30 กิโลกรัมตอไร
                          ระยะเวลาการใสปุยเคมี หมายถึง การใสปุยในชวงเวลาที่พืชตองการ มันสําปะหลังตองการธาตุ

                   อาหารมากในชวง 3 เดือนแรกหลังจากปลูกเพื่อใชในการสรางทรงพุมใบ ดั้งนั้น เวลาที่เหมาะสมในการใส

                   ปุย คือ 30 วันหลังปลูก หรือใชรองพื้นรวมกับปุยอินทรียกอนยกรองปลูกมันสําปะหลังก็ได
                          วิธีการใสปุยเคมี หมายถึง การใสปุยตรงจุดที่พืชสามารถดูดไปใชประโยชนไดงายและเร็วที่สุดและ

                   ลดการสูญเสียปุยจากการชะลางดวยน้ํา สําหรับมันสําปะหลังตองขุดหลุมสองขางลําตน ระยะหางลําตน

                   เทากับรัศมีพุมใบ ใสปุยแลวฝงกลบดิน หรือใสปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียเพื่อเปนปุยรองพื้นกอนปลูก โดย
                   โรยเปนแถวตามแนวที่จะยกรอง แลวยกรองกลบทับปุยทั้งสอง โดยปุยอินทรียจะทําหนาที่ดูดซับปุยเคมี

                   ไมใหถูกชะลางลงสูใตดินไดงาย (โอภาษ, 2554)

                          มันสําปะหลังมีความตองการธาตุอาหารหลัก ไดแก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม โดย
                   ในแตละฤดูผลิตมันสําปะหลังจะตองการธาตุอาหารไนโตรเจน 10-20 กิโลกรัมตอไร ฟอสฟอรัส  9-10

                   กิโลกรัมตอไร และโพแทสเซียม 8-12 กิโลกรัมตอไร ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปริมาณธาตุอาหารในดินกอนปลูก  มัน
                   สําปะหลังจะตอบสนองตอปริมาณธาตุไนโตรเจนที่ไดรับมากนอยเพียงใด ขึ้นอยูกับความสามารถในการอุม

                   น้ําของดินและปริมาณฝนที่ตกกระจายอยางสม่ําเสมอแตไดรับธาตุไนโตรเจนมากเกินไปจะทําให

                   เปอรเซ็นตแปงในหัวมันลดลง สวนปริมาณฟอสฟอรัสนั้นถึงแมจะมีปริมาณความตองการนอยกวาธาตุ
                   ไนโตรเจนและโพแทสเซียม แตก็มีบทบาทเกี่ยวของกับการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตมันสําปะหลัง

                   นอกจากนี้ธาตุฟอสฟอรัสจะมีบทบาทตอมันสําปะหลังมากที่สุดที่ระดับ pH ของดินเปนกลางในระหวาง
                   6-7 สําหรับธาตุโพแทสเซียมนั้นมีความสําคัญตอการเคลื่อนยายคารโบไฮเดรทจากสวนใบและตนไปยังราก

                   และสวนปริมาณแปงในหัวมัน และลดปริมาณไฮโดรไซยานิคในหัวมัน การขาดธาตุโพแทสเซียมจะทําให

                   ผลผลิตหัวมันลดลงอยางชัดเจนใบแกจะรวงหลนเร็วกวาปกติ ใบจะเล็กแคบและลําตนแคระแกร็น (กรม
                   พัฒนาที่ดิน, 2546)

                          การใชปุยเคมีในมันสําปะหลังนั้นกรมวิชาการเกษตร (2548) แนะนําการใชปุยกับมันสําปะหลัง

                   ตามคาวิเคราะหดิน และตามลักษณะเนื้อดิน ซึ่งจะตองใสปุยขางตนมันสําปะหลังและกลบปุยครั้งเดียว
                   หลังปลูก 1-3 เดือน หรือตอนกําจัดวัชพืชครั้งแรก ควรใสเมื่อดินมีความชิ้นพอเหมาะ และเพื่อที่จะผลิตมัน

                   สําปะหลังอยางยั่งยืนตองมีการใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีโดยปริมาณปุยอินทรียที่แนะนํานั้นควรใช
                   ปริมาณ 1-2 ตนตอไร แตทั้งนี้ควรขึ้นอยูกับคาวิเคราะหดินดวย

                          วินัย และคณะ (2551) ไดศึกษาอัตราปุยเคมีที่เหมาะสมและประหยัดสําหรับปลูกมันสําปะหลัง

                   พันธุเกษตรศาสตร 50 ในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณระดับตาง ๆ ของจังหวัดมหาสารคาม พบวา การใส
                   ปุยเคมีตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร โดยใสปุยเคมี 15-15-15 อัตรา 106.67 กิโลกรัมตอไรให

                   ผลผลิตและการเจริญเติบโตของมันสําปะหลังสูงสุด
                          กรมพัฒนาที่ดิน (2554) ใหคําแนะนําการใชปุยสําหรับมันสําปะหลัง ตําบลเชียงทอง อําเภอวัง

                   เจา จังหวัดตาก สําหรับกลุมชุดดินที่ 56 แนะนําใหใชสูตร 18-46-0 ในอัตรา 18 กิโลกรัมตอไร ผสมกับปุย
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34