Page 34 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        21

                                               ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการ



                   ระยะเวลาดําเนินการ   เริ่มตนเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2559

                                         สิ้นสุดเดือนมีนาคม พ.ศ.2560
                   สถานที่ดําเนินการ

                          1. สถานที่ตั้ง บานเดนวัว หมู 4 ตําบลเชียงทอง อําเภอวังเจา จังหวัดตาก พิกัด UTM Zone
                   47P 521682E 1840981N เกษตรกรเจาของพื้นที่ นางหนูพันธ แสงไชย

                          2. สภาพพื้นที่ (Site Characterization)

                          แปลงทดลองอยูในกลุมชุดดินที่ 56 ชุดดินภูสะนา การจําแนกดินจัดอยูใน fine-loamy, mixed,
                   isohyperthermic, Kanhaplic Haplustults เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแกรนิต สภาพพื้นที่มี

                   ลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 2-3 เปอรเซ็นต เปนดินลึกปานกลางถึงชั้นกรวด
                   เหลี่ยมของแรควอตซหนาแนนมาก การระบายน้ําดี ความสามารถใหน้ําซึมผานปานกลาง การไหลบาของ

                   น้ําบนผิวดินปานกลาง และความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

                          ดินบนหนาประมาณ 18 เซนติเมตร มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายปนกรวดเล็กนอย สีน้ําตาลเขม
                   ปนแดง หรือสีเขมของน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ

                   6.0 สวนดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายปนกรวด ดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวด และดินรวนเหนียว

                   ปนทรายปนกรวดมาก สีน้ําตาลเขม สีน้ําตาลปนแดง สีแดงปนเหลือง กอนกรวดเปนพวกเศษหินควอรต
                   ไซต ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-6.0

                          การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลังของกลุมชุดดินที่ 56 ชุดดินภู
                   สะนา พบวา มีความเหมาะสมเล็กนอยสําหรับปลูกมันสําปะหลัง (S3) มีขอจํากัดเรื่องความอุดมสมบูรณ

                   ของดินต่ํา และเนื้อดินมีกรวดและเศษหินปะปนภายในความลึก 50 เซนติเมตร ทําใหจํากัดการ

                   เจริญเติบโตของหัวมันสําปะหลัง

                                                  อุปกรณและวิธีดําเนินการ



                   1. วัสดุและอุปกรณ
                          1.1 พืชทดลอง คือ มันสําปะหลังพันธุหวยบง 60

                          1.2 ปุยเคมี สูตร 46-0-0 0-0-60 15-15-15 และ 18-46-0

                          1.3 น้ําหมักชีวภาพจากสารเรงซุปเปอร พด.2 วัสดุหมักคือ สับปะรด ฟกทอง และกากน้ําตาล
                          1.4 ปูนโดโลไมท

                          1.5 สารเคมี ประกอบดวย สารเคมีปองกันแมลงไทอะมีโทแซม 25 เปอรเซ็นต WG สารปองกัน
                   เชื้อราเมทาแลคซิล น้ํายาเรงราก และสารเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตพืช (ไคโตซาน)

                          1.6 เครื่องวัดอุณหภูมิ ปริมาณน้ําฝน และความชื้นสัมพัทธ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39