Page 35 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        22

                          1.7 แผนที่เขตความเหมาะสมของดิน (Zoning) สําหรับปลูกมันสําปะหลัง จังหวัดตาก มาตรา

                   สวน 1 : 50,000
                          1.8 อุปกรณที่ใชในการวัดการเจริญเติบโตและผลผลิต ประกอบดวย ไมบรรทัด ตลับเมตร และ

                   เครื่องชั่งน้ําหนัก

                          1.9 อุปกรณที่ใชในการเก็บตัวอยางดิน ประกอบดวย พลั่วเก็บดิน ปากกาเคมี ถุงพลาสติก และ
                   เชือก


                          1.10 เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องพิมพ สมุดบันทึก และอุปกรณการเขียน

                   2. วิธีดําเนินการ

                          2.1 คัดเลือกพื้นที่ดําเนินการ
                              2.1.1 คัดเลือกแปลงปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกอยูในระดับความ

                   เหมาะสมเล็กนอย (S3) รวมกับกลุมวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ดิน และกลุมวางแผนการใชที่ดิน สํานักงาน

                   พัฒนาที่ดินเขต 9 ในพื้นที่หมู 4 ตําบลเชียงทอง อําเภอวังเจา จังหวัดตาก
                              2.1.2 ตรวจสอบพื้นที่ ตรวจสอบชุดดิน จัดทํา site characterization และเก็บตัวอยางดิน

                   ตามชั้นความลึกโดยกลุมวางแผนการใชที่ดิน

                          2.2 วางแผนการทดลองแบบ Observation Trial มี 5 ตํารับการทดลอง ประกอบดวย
                              ตํารับการทดลองที่ 1 การใชปุยตามวิธีเกษตรกร

                              ตํารับการทดลองที่ 2 การใชปุยตามวิธีเกษตรกรรวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                              ตํารับการทดลองที่ 3 การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืช
                   รวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                              ตํารับการทดลองที่ 4 การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมการจัดการดินและปุยรายแปลง
                   รวมกับน้ําหมักชีวภาพ

                              ตํารับการทดลองที่ 5 การใชปุยตามคําแนะนําจากการวิเคราะหดินในหองปฏิบัติการรวมกับ
                   น้ําหมักชีวภาพ

                          2.3 ขั้นตอนและวิธีดําเนินการ

                                 2.3.1 วางผังแบงแปลงทดลองยอยตามตํารับการทดลอง
                                 2.3.2 เก็บตัวอยางดินในแตละแปลงทดลองยอยกอนดําเนินการทดลอง โดยเก็บแบบ

                   Composite sample ที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร ตํารับการทดลองละ 1 ตัวอยาง สง

                   หองปฏิบัติการกลุมวิเคราะหดิน สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 เพื่อวิเคราะหสมบัติทางเคมีของดิน
                   ประกอบดวย ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ดวยวิธีการ Walkley and Black (Walkley and Black,

                   1947) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Avail.P) ดวยวิธีการ Bray II (Bray and Kurtz, 1945)

                   ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Avail.K) โดยการสกัดดวย 1 N NH OAc pH 7 (Jackson, 1958)
                                                                                 4
                   และคาความเปนกรดเปนดางของดิน (pH) โดยใชเครื่องมือวัดพีเอชดิน (pH meter) วัดที่สัดสวนดินตอน้ํา

                   เทากับ 1:1 (Peech, 1965)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40