Page 30 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        17

                   สูตร 46-0-0 อัตรา 11 กิโลกรัมตอไร และสูตร 0-0-60 ในอัตรา 7 กิโลกรัมตอไร ใสครั้งเดียวหลังปลูก 1-3

                   เดือน หรือแบงใสไปตามชวงอายุ
                          เจียมใจ และคณะ (2547) สรุปผลของการสํารวจในเรื่องของการใชปจจัยการผลิตในมัน

                   สําปะหลัง ซึ่งแบงปริมาณผลผลิตออกเปนสองชวง ไดแก ผลผลิตที่มากกวา 5 ตันตอไร และผลผลิต  3-5

                   ตันตอไร ปจจัยการผลิตที่ใชเชน พันธุ ปุยคอก ปุยชีวภาพ ปุยเคมี ยาปราบวัชพืชและศัตรูพืช พบวา
                   ปริมาณผลผลิตที่ไดจะมากหรือนอยจะผันแปรไปตามปจจัยการผลิตที่ใช คือถาใชปจจัยการผลิตมาก

                   ผลผลิตที่ไดก็จะมากขณะเดียวกันถาใชปจจัยการผลิตยอยผลผลิตที่ไดก็จะนอยตามไปดวย จากตารางที่

                   3-9 และตารางที่ 3-10 จะเห็นไดวามีการใชปจจัยการผลิตโดยเฉพาะปุยเคมี และปุยอินทรียทุกชนิดรวม
                   กับมันสําปะหลังในกลุมที่ไดผลผลิตสูง (มากกวา 5 ตัน) จะมีการใชปุยมากกวากลุมที่มีผลผลิตต่ํากวา

                   (ระหวาง 3-5 ตัน) การใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก และปุยชีวภาพรวมกับการใชปุยเคมีจึงนับเปนปจจัยการ

                   ผลิตที่สําคัญอยางมากในการเพิ่มผลผลิตของมันสําปะหลัง โดยเฉพาะในดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา สวน
                   ปจจัยการผลิตในดานอื่นๆ เชนตนพันธุ มีการใชตนพันธุในการเพาะปลูกในปริมาณที่ใกลเคียงกันไมมีความ

                   แตกตางกันมากนัก ทางดานของการดูแลรักษาเกษตรกรมีการใชยาปราบวัชพืชทุกพันธุ จากการสอบถาม
                   เกษตรกรสวนใหญเกษตรกรมักจะทําการปราบวัชพืชประมาณ 2 ครั้ง คือ มีการใชยาคุมหญาในชวงแรก

                   ของการปลูกหลังจากนั้นประมาณ 3-4 เดือนเมื่อมีหญาหรือวัชพืชขึ้นมาอีกก็จะมีการใชยาฆาหญาอีกครั้ง

                   หนึ่ง นอกจากนี้ในเกษตรกรบางรายที่มีการจัดการดูแลรักษาดีก็จะมีการดายหญาซึ่งสวนมากจะใช
                   แรงงานคนหรือนอยจะผันแปรไปตามปจจัยการผลิตที่ใช คือ ถาใชปจจัยการผลิตมากผลผลิตที่ไดก็จะมาก

                   ขณะเดียวกันถาใชปจจัยการผลิตนอยผลผลิตที่ไดก็จะนอยตามไปดวยจากตารางที่ 3-9 และตารางที่ 3-10
                   จะเห็นไดวามีการใชปจจัยการผลิตโดยเฉพาะปุยเคมีและปุยอินทรียทุกชนิดรวมกับมันสําปะหลังในกลุมที่

                   ไดผลผลิตสูง ( มากกวา 5 ตัน) จะมีการใชปุยมากกวากลุมที่มีผลผลิตต่ํากวา (ระหวาง 3-5 ตัน ) การใชปุย

                   อินทรีย เชน ปุยคอกและปุยชีวภาพรวมกับการใชปุยเคมีจึงนับเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญอยางมากในการ
                   เพิ่มผลผลิตของมันสําปะหลัง โดยเฉพาะในดินที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา สวนปจจัยการผลิตดานอื่นๆ เชน

                   ตนพันธุ มีการใชตนพันธุในการเพาะปลูกในปริมาณที่ใกลเคียงกันไมมีความแตกตางกันมากนัก ทางดาน

                   การดูแลรักษาเกษตรกรมีการใชยาปราบวัชพืชทุกพันธุ จากการสอบถามเกษตรกรสวนใหญเกษตรกร
                   มักจะทําการปราบวัชพืชประมาณ 2 ครั้ง คือ การใชยาคุมหญาในชวงแรกของการปลูกหลังจากนั้น

                   ประมาณ 3-4 เดือน เมื่อมีหญาหรือวัชพืชขึ้นมาอีกก็จะมีการใชยาฆาหญาอีกหนึ่งครั้ง นอกจากนี้ใน
                   เกษตรกรบางรายที่มีการจัดการดูแลรักษาดีก็จะมีการดายหญาซึ่งสวนมากจะใชแรงงานคนควบคูกันไป

                   ดวย สวนยาปราบศัตรูพืชเกษตรกรสวนใหญไมใชจากผลการวิเคราะหที่ไดมีเพียงมันสําปะหลังพันธุระยอง

                   90 และพันธุเกษตรศาสตร 50 ชวงผลผลิต 3-5 ตันตอไร เทานั้นที่มีการใชยาปราบศัตรูพืช
                          น้ําหมักชีวภาพ เปนของเหลวซึ่งไดจากการยอยสลายวัสดุเหลือใชจากพืชที่มีลักษณะสดอวบน้ํา

                   หรือมีความชื้นสูง โดยอาศัยกิจกรรมของจุลินทรียในสภาพที่ไมมีออกซิเจนเปนสวนใหญ ผลิตภัณทที่ไดมี
                   ลักษณะเปนของเหลวสีน้ําตาล ซึ่งประกอบดวย คารโบไฮเดรท (Carbohydrates) กรดอินทรีย (Organic

                   acid) กรดอะมิโน (Amino acid) กรดฮิวมิก (Humic acid) น้ํายอย (Enzymes) วิตามิน (Vitarmins)
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35