Page 26 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        13

                   56 มีศักยภาพคอนขางไมเหมาะสมถึงเหมาะสมในการปลูกพืชไร ขึ้นอยูกับสภาพและความลาดเทของ

                   พื้นที่ ไมคอยเหมาะสมในการปลูกพืชผักตาง ๆ และไมผล เนื่องจากขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก และใน
                   ดินชั้นลางจะพบชั้นเศษหินที่เปนวัตถุตนกําเนิดดิน จึงไมคอยเหมาะสมสําหรับไมผล

                          การจัดการกลุมชุดดินที่ 56 ในการปลูกพืชไร เนื่องจากดินคอนขางเปนทราย มีอินทรียวัตถุและ

                   ความชื้นในดินต่ํา ควรเพิ่มอินทรียวัตถุในดินโดยหวานปุยคอกหรือปุยหมัก อัตรา 1-3 ตันตอไร หรือใชปุย
                   พืชสด โดยหวานเมล็ดพันธุพืชปุยสดตระกูลถั่ว ไดแก โสนอัฟริกัน ปอเทืองหรือปอเทืองเตี้ย ถั่วพรา หรือ

                   ถั่วพุม อัตราเมล็ดพันธุ 5 กิโลกรัมตอไร ควรหวานรอฝน หรือตนฤดูฝนกลางเดือนเมษายน หรือตนเดือน

                   พฤษภาคม เมื่อพืชปุยสดออกดอก 50 เปอรเซ็นต หรืออายุ 60 วัน จึงทําการไถกลบหรือสับกลบลงดิน
                   กอนปลูกพืช ดินเกิดการชะลางพังทลาย ปลูกพืชไรตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ หรือใช

                   ระบบการปลูกพืชโดยปลูกพืชตระกูลถั่วหมุนเวียน หรือแซมในระหวางแถวของพืชหลัก คําแนะนําการใช

                   ปุยในการปลูกมันสําปะหลัง คือ ใสปุยเคมีสูตร 15-15-15 หรือสูตรอื่นที่มีธาตุอาหารพืชใกลเคียงกัน อัตรา
                   50-100 กิโลกรัมตอไร แบงใส 2 ครั้ง ครั้งแรกใสรองกนหลุมปลูกและครั้งที่สอง โรยขางตนเมื่อมัน

                   สําปะหลังอายุ 2 เดือน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)
                          โปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืช เปนโปรแกรมสําเร็จรูปที่พัฒนาขึ้นมาจากฐานขอมูลกลุมขุด

                   ดินที่มีอยูทั้งหมดในประเทศไทยที่กรมพัฒนาที่ดินไดทําการสํารวจดินแลวทั่วประเทศไทย ระดับมาตรา

                   สวน 1:50,000 โดยโปรแกรมจะมีชนิดของดิน สภาพพื้นที่ ความลาดชัน ธาตุอาหารที่มีอยูในดิน ความ
                   เปนกรดเปนดางของดิน เปนตน เชื่อมโยงกับคําแนะนําการจัดการดินและธาตุอาหารพืช ความเหมาะสม

                   ในการปลูกพืช ปญหาและขอควรระวังในการปลูกพืช คําแนะนําสูตรปุย อัตราการใชปุย ขอมูลใน
                   โปรแกรมไดรับการนําเขาและพัฒนาในรูปแบบฐานขอมูลดวยโปรแกรม Ms Access 2003 โดยนําเสนอ

                   ในรูปแบบโปรแกรมเรียกใชที่สามารถสืบคนขอมูลดินตามขอบเขตการปกครองทั่วประเทศ และตําแหนง

                   ที่ตั้งแปลง โดยโปรแกรมจะแสดงรายระเอียดขอมูลดินไดถึงระดับตําบล โปรแกรมดินไทยและธาตุอาหาร
                   พืชถูกออกแบบมาโดยมุงหวังใหเจาหนาที่ เกษตรกร และบุคคลทั่วไปใชงานไดสะดวก เพื่อชวยในการ

                   ตัดสินใจใหคําแนะนําอัตราการใชปุยที่เหมาะสมสําหรับการปลูกพืช รวมทั้งขอจํากัด และวิธีการจัดการดิน

                   ที่เหมาะสมตามสมบัติของกลุมชุดดิน ซึ่งโปรแกรมนี้เหมาะสําหรับเกษตรกรที่สามารถระบุที่ทํากินของ
                   ตนเองไดในแผนที่ และไดทําการวิเคราะหดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)

                          โปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง เปนโปรแกรมสารสนเทศที่ใหคําแนะนําการ
                   จัดการดินและปุยรายแปลง ถูกพัฒนาขึ้นโดยการบูรณาการขอมูลการจัดการดินของกรมพัฒนาที่ดิน

                   รวมกับคําแนะนําการจัดการปุยตามคาวิเคราะหดินของกรมวิชาการเกษตร และขอมูลการจัดการธาตุ

                   อาหารเฉพาะพื้นที่ แลวจึงจัดทําระบบติดตอผูใชใหสามารถคัดกรองขอมูลไดตรงตามความตองการของ
                   ผูใช เกษตรกรสามารถรับคําแนะนําการใชปุยไดแมไมสงตัวอยางดินวิเคราะห เนื่องจากโปรแกรมมีผล

                   วิเคราะหดินพื้นฐานประจําชุดดินอยูแลว แตในกรณีที่เกษตรกรสงดินมาตรวจวิเคราะหกับกรมพัฒนาที่ดิน
                   สามารถระบุผลการวิเคราะหดินเขาไปในโปรแกรม จะทําใหไดคําแนะนําการจัดการปุยที่มีความจําเพาะ

                   เปนรายแปลง ซึ่งชวยใหเกษตรกรสามารถใชปุยไดอยางแมนยํายิ่งขึ้น และสามารถลดตนทุนดานการผลิต
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31