Page 36 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        23

                                  2.3.3 นําผลวิเคราะหดินไปใชในการกําหนดอัตราการใชปุยเคมีจากโปรแกรมดินไทยและ

                   ธาตุอาหารพืช สําหรับตํารับการทดลองที่ 3 โปรแกรมการจัดการดินและปุยรายแปลง สําหรับตํารับการ
                   ทดลองที่ 4 และโปรแกรมคําแนะนําจากการวิเคราะหดินในหองปฏิบัติการของสํานักวิทยาศาสตรเพื่อการ

                   พัฒนาที่ดิน สําหรับตํารับการทดลองที่ 5

                                  2.3.4  ไถเตรียมแปลง  และปลูกมันสําปะหลัง  โดยใชมันสําปะหลังพันธุหวยบง  60  ที่มี
                   อายุ 8-12 เดือน เตรียมทอนพันธุที่สมบูรณ ไมมีโรคและแมลงรบกวน ตัดทอนพันธุจากสวนกลางของลํา

                   ตนยาวประมาณ 20-25 เซนติเมตร มีจํานวนตาไมนอยกวา 5 ตา แชทอนพันธุในสารเคมีปองกันแมลง คือ

                   ไทอะมีโทแซม 25 เปอรเซ็นต WG อัตรา 4 กรัม ผสมสารปองกันเชื้อราเมทาแลคซิล และน้ํายาเรงรากใน
                   น้ํา  20  ลิตร  เปนเวลา  10  นาที  แลวปลูกทอนพันธุลงแปลงในชวงตนเดือนมิถุนายน  ใชระยะปลูก

                   ระยะหางระหวางตน 50 เซนติเมตร ระยะหางระหวางแถว 100 เซนติเมตร ปกทอนพันธุแนวตั้งตรง 90

                   องศา ใหลึก 10-15 เซนติเมตร ใชทอนพันธุ 1 ทอนตอหลุม และทําการปลูกซอมไมเกิน 25 วันหลังปลูก
                                 2.3.5 ใสปูนโดโลไมท เพื่อปรับสภาพความเปนกรดของดินในตํารับการทดลองที่ 4 และ

                   5 อัตรา 300 กิโลกรัมตอไร ในชวงการไถเตรียมดิน
                                 2.3.6 ผลิตน้ําหมักชีวภาพเพื่อใชในงานทดลอง จํานวน 50 ลิตร โดยใชวัสดุหมักที่มีใน

                   พื้นที่ คือ สับปะรด จํานวน 20 กิโลกรัม ฟกทอง จํานวน 20 กิโลกรัม กากน้ําตาล จํานวน 10 กิโลกรัม น้ํา

                   จํานวน 10 ลิตร และสารเรงซุปเปอร พด.2 จํานวน 1 ซอง โดยมีวิธีการทํา คือ ละลายสารเรงซุปเปอร
                   พด.2 1 ซอง ในน้ํา 10 ลิตร ผสมใหเขากันนาน 5 นาที ผสมเศษวัสดุและกากน้ําตาลลงในถังหมักขนาด

                   50 ลิตร แลวเทสารละลายซุปเปอร พด.2 ในขอ 1 ผสมลงในถังหมัก คลุกเคลาหรือคนใหสวนผสมเขากัน
                   อีกครั้ง แลวปดฝาไมตองสนิท หมักทิ้งไวเปนเวลา 7 วัน

                                 2.3.7 ดําเนินการตามแผนการทดลองเพื่อเปรียบเทียบปริมาณผลผลิต ดังนี้

                                 ตํารับการทดลองที่ 1 การใชปุยตามวิธีเกษตรกร ใสปุยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50
                   กิโลกรัมตอไร ใสพรอมยกรองปลูก และสารเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตพืช (ไคโตซาน) อัตรา 50 กิโลกรัมตอ

                   ไร (7.5-7.5-7.5 กิโลกรัม N-P O -K O ตอไร) ใส 1 เดือนหลังปลูก
                                            2 5 2
                                  ตํารับการทดลองที่ 2 การใชปุยตามวิธีเกษตรกรรวมกับน้ําหมักชีวภาพ ใสปุยเคมี
                   เชนเดียวกับตํารับการทดลองที่ 1 รวมกับการใชน้ําหมักชีวภาพ อัตรา 5 ลิตรตอไร (เจือจาง 1: 500 :น้ํา

                   หมักชีวภาพ 1 ลิตร ผสมน้ํา 500 ลิตร) ฉีดพนทางใบที่อายุ 30 และ 60 วัน
                                  ตํารับการทดลองที่ 3 การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืช

                   รวมกับน้ําหมักชีวภาพ คือ ใสปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัมตอไร รวมกับสูตร 18-46-0 อัตรา 15

                   กิโลกรัมตอไร และสูตร 0-0-60 อัตรา 7 กิโลกรัมตอไร (11.9-6.9-4.2 กิโลกรัม N-P O -K O ตอไร) เมื่อ
                                                                                         2 5 2
                   มันสําปะหลังอายุ 1 เดือน ใสบริเวณหลุมที่เจาะ 2 ขางลําตนแลวกลบ รวมกับการใชน้ําหมักชีวภาพตาม

                   อัตราและระยะเวลาที่กําหนด เชนเดียวกับตํารับการทดลองที่ 2
                                  ตํารับการทดลองที่ 4 การใชปุยตามคําแนะนําจากโปรแกรมการจัดการดินและปุยราย

                   แปลงรวมกับน้ําหมักชีวภาพ ใสปุยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 25 กิโลกรัมตอไร รวมกับสูตร 18-46-0 อัตรา
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41