Page 27 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        14

                   ลง กอใหเกิดความคุมคาในการลงทุน ตลอดจนใหกําไรสูงสุด (กองสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน,

                   2543.)
                          อัธยะ และสมพร (2554) กลาวไววา โปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืช และโปรแกรม

                   คําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง เปนโปรแกรมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และเปน

                   เครื่องมือที่ใชในการนําผลงานวิจัยทางดานการใชปุยตามคาวิเคราะหดินผสมผสานการจัดการดินตาม
                   สมบัติดินสูเกษตรกรและเจาหนาที่เพื่อใชในการสงเสริมการจัดการดินและปุยอยางถูกวิธีและมี

                   ประสิทธิภาพ ลักษณะการใชงานมีความยุงยากและเรียบงายแตกตางกันไปตามกลุมเปาหมาย และขอมูล

                   สารสนเทศก็จะมีความละเอียดและซับซอนมากนอยไปตามลักษณะการใชงานของโปรแกรม อยางไรก็ตาม
                   โปรแกรมทั้งสองนั้นยังไมไดบรรจุขอมูลที่สมบูรณ เพราะความจําเพาะในสมบัติดินแตละชุดดิน กลุมขุดดิน

                   ยังมีอยูมาก และงานวิจัยทางดานการใชปุยตามคาวิเคราะหดินเอง ยังไมไดครอบคลุมไปถึงดินทุกชนิดทุก

                   ประเภท กลาวคือ
                          โปรแกรมดินไทยและธาตุอาหารพืชเนนที่การใชงานงาย ใหขอมูลไดทันที และมีการแสดง

                   ตําแหนง ที่ตั้งของกลุมชุดดินตาง ๆ ซึ่งเหตุผลนี้ทําใหมีขอจํากัดในการแสดงขอมูลที่ซับซอน เชน ที่ดิน
                   บริเวณหนึ่งอาจจะพบดินไดสองลักษณะ ก็ตองถูกตัดใหเหลือเพียงลักษณะเดียว จึงเกิดปญหาเมื่อพบวา

                   บางพื้นที่มีการทํานา แตดินนั้นใหเปนดินดอน และไมมีคําแนะนําในการใชปุยสําหรับขาว การให

                   คําแนะนําการใชปุยมีแหลงที่มาของขอมูลคําแนะนําจากกรมการขาว และกรมวิชาการเกษตรเปนหลัก แม
                   จะไหคําแนะนําการใชปุยตามคาวิเคราะหดิน แตก็จะเปนคาวิเคราะหดินเกา ซึ่งจะไมตรงกับสภาพดินใน

                   ปจจุบันของเกษตรกร แมจะมีการเก็บดินไปวิเคราะหใหมก็ไมสามารถปอนเขาในโปรแกรมเพื่อให
                   คําแนะนําตามคาวิเคราะหดินใหมนั้นได อีกทั้งคําแนะนําปุยก็เปนสูตรและอัตราตายตัว หากเกษตรกรหา

                   สูตรปุยตามที่แนะนําไมได ก็จะใสปุยไมถูกตองตามความตองการจริง ๆ เพราะโปรแกรมไมสามารถ

                   คํานวณปริมาณปุยใหมไดเมื่อมีการเปลี่ยนสูตรปุย
                          สวนโปรแกรมคําแนะนําการจัดการดินและปุยรายแปลง เปนโปรแกรมที่ถูกพัฒนาใหเปน

                   โปรแกรมสารสนเทศหลักในการรวบรวมขอมูลดานการจัดการดินและปุย โปรแกรมปุยรายแปลงไมไดเปน

                   งานปจจัยแตเปนงานที่รวบรวมผลงานวิจัยจากแหลงตาง ๆ มาบูรณาการเขาดวยกันและพัฒนาเปนระบบ
                   เรียกใชขอมูลตามเงื่อนไขที่เหมาะสมกับพื้นที่เกษตรกรรมในแตละแปลง  ซึ่งขอมูลที่จะถูกนํามาแสดงนั้น

                   อาจจะมีความซ้ําชอนกันไดเมือมีเงื่อนไขพื้นฐานอันเดียว เชน ดินเดียวกันแตหากมีเงื่อนไขจําเพาะ
                   บางอยาง ก็จะทําไหขอมูลที่สอดคลองที่สุดถูกนํามาแสดงผล ดังนั้น เรื่องของการอางอิง จึงเปนสิ่งสําคัญ

                   ยิ่งที่จะตองมีอยูในโปรแกรม กลาวคือ คําแนะนํานั้น ๆ เปนคําแนะนําจากผลงานวิจัยของใคร อยางไร

                   เมื่อไร ตองพรอมแสดง ใหเห็นอยูในโปรแกรมอยางชัดเจน เพื่อใหผูใชสามารถคนควาเพิ่มเติมไดจาก
                   ผลงานวิจัยนั้นโดยตรงหากตองการ

                          การใชปุยตามคําแนะนําจากหองปฏิบัติการวิเคราะหดิน คือ การใชปุยเทาที่จําเปนตามความ
                   ตองการของพืช รวมถึงการจัดการดินที่มีปญหาใหถูกตองและเหมาะสม โดยมีการวิเคราะหความอุดม

                   สมบูรณของดินกอนการปลูกพืช ซึ่งทําไดโดยการเก็บตัวอยางดินวิเคราะห เพื่อใหทราบถึงปริมาณธาตุ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32