Page 21 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         8

                   ซึ่งถาการกระจายน้ําฝนสม่ําเสมอจะสามารถปลูกมันสําปะหลังไดดี โดยเฉพาะมันสําประหลังพันธุระยอง

                   72 ที่ปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะใหเปอรเซ็นตแปงสูงและน้ําหนักดีกวาการปลูกในภาคตะวันออก
                   ซึ่งมีฝนตกชุก ความตองการทางดานพืชมันสําปะหลังแตละพันธุ จะนํามากําหนดบริเวณที่เหมาะสมตอ

                   การผลผลิต จะชวยใหยกระดับผลผลิตโดยรวมใหสูงขึ้นได นอกจากนี้โครงสรางทางดานการตลาด ไดแก

                   ลานมันและโรงงานแปรรูปก็เปนปจจัยที่สําคัญในการกําหนดราคา รายไดและแรงจูงใจในการผลิต
                   โดยเฉพาะการขนสงและการรับซื้อการแปรรูปผลผลิต ดังนั้นระยะทางระหวางเขตพื้นที่ปลูกพืชกับแหลง

                   รับซื้อจึงมีความสําคัญระดับหนึ่งในการพิจารณา เพราะจะมีผลกระทบตอตนทุนการผลิตและรายไดที่จะ

                   ไดรับของเกษตรกร ซึ่งระยะทางของการขนสงผลผลิตสูโรงงานและลานมัน ควรจะอยูใกลพื้นที่เพาะปลูก
                   นั้นในรัศมีไมเกิน 100 กิโลเมตร เพราะจะทําใหสามารถลดคาขนสงและมีผลกระทบตอตนทุนใหลดต่ําลง

                   ได

                          มันสําปะหลัง มีชื่อวิทยาศาสตร คือ Manihot esculenta (L.) Crantz เปนพืชหัวชนิดหนึ่ง และ
                   เปนพืชอาหารที่สําคัญอันดับ 5 รองจากขาวสาลี ขาวโพด ขาวและมันฝรั่ง ชื่อสามัญเรียกหลายชื่อเชน

                   Cassava Yuca Mandioa Manioc และ Tapioca ชาวไทยเดิมเรียกกันวา มันสําโรง มันไม ทางภาค
                   ตะวันออกเฉียงเหนือเรียกวา มันตนเตี้ย ภาคใตเรียกมันเทศ มีแหลงกําเนิดแถบที่ลุมเขตรอน (Lowland

                   tropics) มีหลักฐานแสดงวาปลูกกันในโคลัมเบีย และเวเนซูเอลา มานานกวา 3,000-7,000 ปมาแลว นิยม

                   ใชเปนอาหารเลี้ยงสัตว สามารถปลูกไดงายในพื้นที่รอน และรอนชื้น จึงไดมีการสนับสนุนประเทศที่กําลัง
                   พัฒนาที่มีสภาพภูมิอากาศดังกลาวปลูกเปนพืชเศรษฐกิจ (เว็ปไซตวิกิพีเดีย, 2560) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง

                   สวนใหญมีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยตอปมากกวา 1,000 มิลิเมตร เปนพืชที่สามารถปรับตัวไดดีในเขตที่มีฝนตก
                   อยูระหวาง 1,000-1,300 มิลิเมตรตอป แตทั้งนี้ในพื้นที่ที่มีฝนตกชุกจะตองมีการระบายน้ําดีเพราะหากมี

                   น้ําทวมเพียงวันเดียวอาจทําใหเสียหายได (Cock,1985) มันสําปะหลังเปนพืชทนแลงไดดี เมื่อตนมัน

                   สําปะหลังตั้งตัวไดแลวแมจะขาดฝนเปนระยะเวลานานติดตอกัน 3-4 เดือน ก็ยังสามารถทนอยูไดโดยไม
                   ตาย มันสําปะหลังจึงเปนพืชที่สําคัญในเขตที่มีฤดูแลงยาวนานถึง 6 เดือนตอป ทั้งนี้ตองเปนบริเวณที่มีฝน

                   ตกไมต่ํากวา 600 มิลลิเมตรตอป นอกจากนี้มันสําปะหลังยังสามารถขึ้นไดในดินทุกชนิด แตชอบดินรวน

                   ปนทรายที่มีความอุดมสมบูรณปานกลางและระบายน้ําดี มี pH ที่เหมาะสมอยูระหวาง 5.5-8.0 (เจริญ
                   ศักดิ์, 2532)

                          พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในประเทศไทย พบวา สามารถปลูกไดตั้งแตใตสุดจนถึงเหนือสุดของ
                   ประเทศ โดยในป 2551-2552 ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 7,750,413 ไร ไดผลผลิตประมาณ

                   3,246 กิโลกรัมตอไร ป 2559-2560 มีพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นเปน 9,315,012 ไร ผลผลิตประมาณ 3,437

                   กิโลกรัมตอไร แหลงที่ปลูกมันสําปะหลังที่ใหญที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ปลูกประมาณรอย
                   ละ 60 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด แหลงปลูกมันสําปะหลังที่สําคัญในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะอยูทาง

                   ตอนลางของภาค ครอบคลุมพื้นที่ 10 จังหวัด ไดแกจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย มหาสารคาม
                   สุรินทร อุบลราชธานี ศรีษะเกษ ขอนแกน รอยเอ็ด และกาฬสินธุ (มูลนิธิพัฒนามันสําปะหลังแหงประเทศ

                   ไทย, 2551) การปลูกมันสําปะหลังจะมีความสัมพันธกับปริมาณความชื้นของดิน สําหรับประเทศไทยการ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26