Page 23 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        10

                   สด 25.5 เปอรเซ็นต แปงมีความหนืดสูงเหมาะสําหรับนําไปใชกับอุตสาหกรรมตอเนื่องไดหลายชนิด ทอน

                   พันธุแข็งแรง เปอรเซ็นตความงอกและความอยูรอดสูง ตานทานโรคใบจุดปานกลาง (มูลนิธิสถาบันพัฒนา
                   มันสําปะหลังแหงประเทศไทย, 2551)

                          ขอเสนอแนะในการปลูกมันสําปะหลังพันธุหวยบง 60 คือ 1) ควรทดสอบปลูกเปรียบเทียบกับ

                   พันธุดีอื่น ๆ ที่ปลูกอยู หากไดผลพอใจจึงปลูกขยายพันธุนี้ในปตอไป 2) ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุไมนอยกวา
                   10 เดือน 3) การปลูกมันสําปะหลังใหไดผลผลิตสูง ควรเอาใจใสตั้งแตในเบื้องตน โดยเฉพาะ อยางยิ่งการ

                   คัดเลือกทอนพันธุที่จะปลูกควรเลือกทอนพันธุที่มีอายุ 8-14 เดือน และมีความอุตมสมบูรณ โดยมีเสนผาน

                   ศูนยกลางไมต่ํากวา 2 เซนติเมตร และควรใชเฉพาะสวนกลางของลําตน ไมควรใชกิ่งหรือโคนปลูก 4) การ
                   ปลูกมันสําปะหลัง หากสามารถปลูกใหมีความอยูรอดไดสูง โอกาสที่จะไดรับ ผลผลิตสูงก็มีมากตามไปดวย

                   5) พันธุมันสําปะหลังพันธุใหม หวยบง 60 ที่ไดรับไป ควรปลูกภายใน 15 วัน 6) หากจําเปนตองเก็บตน

                   พันธุไว ควรวางกองไวกลางแจง ใหสวนโคนของตนพันธุ สัมผัสผิวดินหรือพูนดินกลบโคนตนรอบกอง แต
                   ไมควรเก็บไวนานเกิน 30 วัน และ 7) การเก็บรักษาทอนพันธุแตละป ไมควรขุดเก็บเกี่ยวมันฯในแปลง

                   ทั้งหมด แตควรเหลือตนพันธุไว (ไมขุด) ใหมีจํานวนตนพันธุที่เพียงพอกับการปลูกในพื้นที่ เมื่อเตรียมดิน
                   พรอมแลวจึงตัดตนที่เหลือไวปลูก (เจริญศักดิ์, 2532)

                          จังหวัดตากตั้งอยูในภาคเหนือคอนไปทางตะวันตกของประเทศไทย มีเนื้อที่ประมาณ 16,406.65

                   ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 10,324,156.25 ไร ใหญเปนอันดับที่ 2 ของภาคเหนือรองจากจังหวัด
                   เชียงใหม และใหญเปนอันดับ 4 ของประเทศไทย สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป เปนปาไมและภูเขา มีทิวเขา

                   ถนนธงชัย เปนตัวแบงพื้นที่ออกเปน 2 ฝง ตากฝงตะวันออก คือ อําเภอเมือง อําเภอบานตาก อําเภอสาม
                   เงา อําเภอวังเจา มีพื้นที่ประมาณ 5,695 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,613,455 ไร คิดเปนรอยละ 35 ของ

                   พื้นที่จังหวัด ตากฝงตะวันตก คือ อําเภอแมสอด อําเภอแมระมาด อําเภอพบพระ อําเภอทาสองยาง

                   อําเภออุมผาง มีพื้นที่ประมาณ 10,715 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,710,701 ไร  คิดเปนรอยละ 65 ของพื้นที่
                   จังหวัด แบงเขตการปกครองออกเปน 9 อําเภอ 63 ตําบล 493 หมูบาน มีอาณาเขตติดตอคือ ทิศเหนือ

                   ติดตอกับจังหวัดแมฮองสอน จังหวัดเชียงใหม จังหวัดลําพูนและจังหวัดลําปาง ทิศใตติดตอกับจังหวัด

                   อุทัยธานี และจังหวัดกาญจนบุรี ทิศตะวันออก ติดตอกับจังหวัดสุโขทัย จังหวัดกําแพงเพชร จังหวัด
                   นครสวรรค จังหวัดอุทัยธานี และทิศตะวันตก ติดตอกับประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมแหงสหภาพพมา

                   พื้นที่สวนใหญของจังหวัดเปนปาไมและภูเขาสูง โดยเฉพาะพื้นที่ทางดานตะวันตกของจังหวัด มีพื้นทั้งหมด
                   16,406.65 ตารางกิโลเมตร ประชากร 525,684 คน (จังหวัดตาก, 2558)

                          จังหวัดตากมีพื้นที่ปาไม 8.8 ลานไร หรือ 86.75 เปอรเซ็นต และมีพื้นที่การเกษตร 1.20 ลานไร

                   หรือ 11.39 เปอรเซ็นต สภาพพื้นที่ของจังหวัดตากสวนใหญ เปนภูเขาสูงสลับซับซอน และมีพื้นที่รวม
                   สําหรับใชการเกษตรเพียงเล็กนอย พื้นที่นามีประมาณ 5 เปอรเซ็นตของพื้นที่ทั้งหมด กระจายอยูในอําเภอ

                   เมืองตาก บานตาก สามเงา แมสอด พบพระ และแมระมาด พื้นที่ทําไร ประมาณ 10 เปอรเซ็นต กระจาย
                   อยูในอําเภอเมืองตาก บานตาก สามเงา พบพระ อุงผาง และวังเจา พื้นที่ดินตื้น ประมาณ 15 เปอรเซ็นต

                   กระจายอยูในพื้นที่อําเภอเมืองตาก บานตาก สามเงา และอุมผาง พื้นที่ภูเขาประมาณ 70 เปอรเซ็นต สวน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28