Page 22 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         9

                   ปลูกมันสําปะหลังเพื่อใหไดผลผลิตและคุณภาพสูง ลดตนทุนการผลิตและเปนการอนุรักษดิน ควรมีการ

                   ปลูกในชวงฤดูแลงและปลายฤดูฝน (Poolsanguan, 1992) ซึ่งเจริญศักดิ์ และคณะ (2530) ไดศึกษาฤดู
                   การปลูกมันสําปะหลังในดินสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยเปรียบเทียบการปลูกมันสําปะหลังในชวงฤดูแลง คือ

                   ปลูกในชวงเดือนพฤศจิกายนและกุมภาพันธ กับการปลูกมันสําปะหลังในชวงตนฤดูฝน คือปลูกในเดือน

                   พฤษภาคม ผลการทดลองพบวา ผลผลิตน้ําหนักแหงของมันสําปะหลังจะสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน

                   รองลงมาคือเดือนกุมภาพันธและพฤษภาคม ตามลําดับ
                          มันสําปะหลังที่ปลูกเชิงเกษตรกรรม มีสองชนิด คือ ชนิดหวาน มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคต่ํา ไม

                   มีรสขมและสามารถใชทําอาหารไดโดยตรง เชน พันธุหานาที,พันธุระยอง 2 และชนิดขม มีปริมาณกรด
                   ไฮโดรไซยานิคสูง ตองนําไปแปรรูปกอน เชน พันธุระยอง 1 3 5 60 และ 90 พันธุเกษตรศาสตร 50 และ

                   พันธุหวยบง 60 ลักษณะทางพฤกษศาสตร เปนไมพุม สูง 1.3-5 เมตร รากแบบสะสมอาหาร (tuberous

                   root) สายพันธุที่นิยมปลูกสูงประมาณ 2.5 เมตร เสนผาศูนยกลาง 10-1.5 เซนติเมตร ใบมีรองลึก 3-7
                   รอง มีหูใบ กานใบยาว ดอกเปนชอดอก ผลแบบแคปซูลทรงกลม ประมาณ 1.2 เซนติเมตร มี 3 เมล็ดใน

                   1 ผล การจําแนกสายพันธุใชคุณลักษณะหลายอยางชวยในการจําแนกเชน สีของใบออน สีกานใบ สีลําตน
                   ขนที่ยอดออน ลักษณะทรงตน หูใบ การปลูกจะใชกิ่งปกชํา ระยะเวลาเก็บเกี่ยวประมาณ 1 ป ถึง 1 ป 4

                   เดือน ขึ้นอยูกับสายพันธุที่ปลูก

                          ประเภทของกลุมพันธุมันสําปะหลัง จากชนิดของมันสําปะหลังแตละสายพันธุ จะมีลักษณะเดน
                   และดอยประจําสายพันธุแตกตางกันไป สภาพการผลิตที่เหมาะสมสําหรับแตละสายพันธุในแตละทองที่

                   ความตองการของปจจัยที่เหมาะสมที่คลายคลึงกันหรือแตกตางกัน โดยใชขอมูลเหลานี้มาวิเคราะห
                   ประเภทของกลุมพันธุมันสําปะหลังตามความสามารถของแตละพันธุ ไดแก การปรับตัวตอสภาพแวดลอม

                   ความทนทานตอความแหงแลง ความตานทานโรค สภาพแวดลอมที่ไมเอื้ออํารวยและเปนขอจํากัดผลผลิต

                   และคุณภาพของพันธุ ความตองการปจจัยการผลิตสูงสําหรับพันธุดี เปนตน สามารถนํามาจัดประเภทกลุม
                   ของกลุมพันธุมันสําปะหลังออกได 3 กลุม คือ 1) กลุมที่เหมาะสมในพื้นที่แหงแลง ไดแก พันธุระยอง 72 มี

                   ความสามารถในการใหผลผลิตสูงและคุณภาพดีในทองที่แหงแลง 2) กลุมที่เหมาะสมตอสภาพความชื้นสูง

                   และตองการดินดี ไดแก พันธุระยอง 90 ใหคุณภาพของแปงดี ถาดินอุดมสมบูรณดีและความชื้นพอเหมาะ
                   แตจะมีขอดอย คือ ทอนพันธุเสียหายงายในสภาพแหงแลงเพราะเก็บพันธุไดไมนาน และ 3) กลุมที่ปรับตัว

                   ตอสภาพแวดลอมไดดี ไดแก พันธุระยอง 5 เกษตรศาสตร 50 และหวยบง 60 เปนสายพันธุใกลชิดกันมาก
                   สามารถปลูกไดทั่วไปทุกภาค ยกเวนบริเวณที่มีฝนตกชุกมากเกินไป จะทําใหผลผลิตเนาเสียหายไดงาย

                          มันสําปะหลังพันธุหวยบง 60 เปนผลงานรวมพัฒนามากวา 10 ป ระหวางมูลนิธิพัฒนามัน

                   สําปะหลังแหงประเทศไทยกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนลูกผสมระหวางพันธุเกษตรศาสตร 50 กับ
                   พันธุระยอง 5 ในป 2534 และไดทําการคัดเลือก ทดสอบ เปรียบเทียบพันธุ จนถึงป 2544 ไดรับรองพันธุ

                   เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2548 ลักษณะประจําพันธุ คือ สีของลําตนเปนสีเขียวเงิน ใบแรกที่เจริญเติบโตมีสี
                   เขียวปนมวง สีของยอดออน เปนสีมวงออนและไมมีขน ความสูงตนอยูระหวาง 1.8 – 2.5 เมตร เนื้อของ

                   หัวมีสีขาว ลักษณะเดน คือ เปนพันธุที่ใหผลผลิตสูงเฉลี่ย 5.7 ตันตอไร และปริมาณแปงสูง เฉลี่ยแปงในหัว
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27