Page 47 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       33


               ต่อเนื่องระหว่างการปลูกปอเทืองเพื่อเป็นปุ๋ยพืชสดกับพืชหลัก สามารถปลูกพืชหลักในเวลาถัดไปได้ทันฤดู
               ในขณะดินมีความชื้นอยู่ และปอเทืองจะเป็นพี่เลี้ยงให้กับพืชหลักที่ปลูกในระยะแรกเริ่ม  ปอเทืองให้น้ าหนักสด

               ประมาณ 1.5-3.0 ตันต่อไร่ ให้ธาตุไนโตรเจนประมาณ 10-20 กิโลกรัมต่อไร่ เทียบกับปุ๋ยยูเรียและแอมโมเนียม
               ซัลเฟตได้ประมาณ 23-48 และ 47-95กิโลกรัม หรือมีเปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
               ประมาณ 2.00-2.95, 0.30-0.40 และ 2.20-3.00 ตามล าดับ อย่างไรก็ตามน้ าหนักมวลชีวภาพและปริมาณธาตุ
               อาหารขึ้นกับปัจจัยของดินและการจัดการ

                       3.3.4 ปุ๋ยหมัก เป็นปุ๋ยอินทรีย์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการน าชิ้นส่วนของพืชมาหมักในรูปของการกองซ้อน
               กันบนพื้นดินหรือในหลุม เศษชิ้นส่วนของพืชที่น ามาหมักจะต้องผ่านกระบวนการย่อยสลายจนแปรสภาพไป
               จากรูปเดิมโดยกิจกรรมจุลินทรีย์   จนกระทั่งได้สารอินทรียวัตถุที่มีความคงทนไม่มีกลิ่น มีสีน้ าตาลปนด า และ
               มีอัตราส่วนของสารประกอบคาร์บอนต่อไนโตรเจนต่ า กรมพัฒนาที่ดินได้ผลิตสารเร่งในการท าปุ๋ยหมัก คือ

               สารเร่งพด.1 ซึ่งเป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายเศษพืชประกอบด้วยเชื้อราและแอคติโนมัย
               ชีสที่ย่อยสารประกอบเซลลูโลส และแบคทีเรียย่อยไขมันใส่ลงในกองปุ๋ยหมัก เพื่อลดระยะเวลาการท าปุ๋ยหมัก
               ให้สั้นลง คุณภาพและมาตรฐานของปุ๋ยหมักมีดังนี้ อัตราส่วนสารประกอบคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N ratio)
               ไม่มากกว่า 20:1 เกรดปุ๋ยไม่ต่ ากว่าร้อยละ 0.5, 0.5, 1.0 (ของ N, P O K 0 ) ตามล าดับ  ความชื้นของปุ๋ย
                                                                         2 ,
                                                                              2
               หมักไม่ควรมากกว่าร้อยละ35 ถึง 40  (โดยน้ าหนัก)  ปริมาณอินทรียวัตถุประมาณร้อยละ 25 ถึง 50  (โดย
               น้ าหนัก) ความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 6.0 ถึง 7.5 และไม่มีวัสดุเจือปนอื่นๆ
                       3.3.5 น้ าหมักชีวภาพ หมายถึง ของเหลวได้จากการหมักวัสดุอินทรีย์ เช่น พืชสัตว์ที่มีลักษณะสดหรือ

               อวบน้ า โดยอาศัยจุลินทรีย์ในสภาพที่ไม่ต้องการอากาศ ช่วยย่อยสลายวัสดุอินทรีย์และได้ผลผลิตภัณฑ์หลาย
               ชนิด ได้แก่ กรดอินทรีย์ ฮอร์โมนหรือสารเร่งการเจริญเติบโตของพืช วิตามิน กรดฮิวมิก และธาตุอาหารพืช
               กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีบทบาทในการย่อยสลาย คือ กลุ่มยีสต์ (Yeasts) มีรูปร่างกลมหรือรีสืบพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ
               โดยการแตกหน่อ (Budding) ในกระบวนการหมักใช้น้ าตาลเป็นแหล่งอาหาร ท าหน้าที่เปลี่ยนน้ าตาลเป็น
               แอลกอฮอล์และก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์นอกจากนี้ยังได้วิตามิน ฮอร์โมน ค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง

               4-6.5 กลุ่มแบคทีเรียผลิตกรดแลคติค (Lactic  acid  bacterlia) เป็นแบคทีเรียแกรมบวกไม่สร้างสปอร์
               (Endospore) รูปร่างเป็นท่อน เจริญเติบโตในสภาพไม่มีออกซิเจนและใช้น้ าตาลเป็นแหล่งอาหารและพลังงาน
               จุลินทรีย์ดังกล่าวทนทานต่อสภาพความเป็นกรดสูง  ค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 2-3.5  ผลิตได้กรด

               แลคติก กลุ่มจุลินทรีย์ย่อยสลายไนโตรเจนประกอบด้วย แบคทีเรีย รา และแอคติโนมัยซีสท าหน้าที่ย่อยสลาย
               โปรตีนให้มีโมเลกุลเล็กลง เป็นกรดอะมิโน
                       จุดเด่นของสารเร่งซุปเปอร์ พด.2
                       1. สามารถผลิตน้ าหมักชีวภาพจากวัตถุดิบได้หลากหลาย เช่น ผัก ผลไม้ ปลา หอยเชอรี่ เปลือกไข่

               เศษก้างและกระดูกสัตว์
                       2. เพิ่มประสิทธิภาพการละลายธาตุอาหารในการหมักวัตถุดิบจากเปลือกไข่ ก้าง และกระดูกสัตว์
                       3. เป็นจุลินทรีย์ที่เจริญได้ในสภาพความเป็นกรด
                       4. จุลินทรีย์ส่วนใหญ่สร้างสปอร์ ท าให้ทนต่อสภาพแวดล้อมและเก็บรักษาได้นาน

                       5. สามารถผลิตน้ าหมักชีวภาพในเวลาสั้นและได้คุณภาพ
                       6. ช่วยให้พืชแข็งแรง ต้านทานต่อการเข้าท าลายของโรคหรือแมลง
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52