Page 43 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       29


                              (6.1) Mechanical Waterways เป็นทางระบายน้ าที่สร้างขึ้นด้วยวัสดุถาวร เช่น สร้างด้วย
               อิฐหินและคอนกรีต

                              (6.2) Vegetated  Waterways  เป็นทางระบายน้ าที่สร้างขึ้นด้วยการปูแต่งพื้นร่องน้ าด้วย
               หญ้าหรือพืชชนิดอื่นๆ
                       2) มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าโดยวิธีพืช (Vegetative Measures) คือ วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ า โดย
               วิธีทางการพืชโดยการปลูกพืชหรือใช้ส่วนใดๆ ของพืชท าให้เป็นแถบหรือเป็นแนว หรือปกคลุมผิวดินหรืออื่นๆ

               เพื่อปูองกันเม็ดฝนมิให้กระทบผิวดินโดยตรง และลดการชะล้างผิวหน้าดิน เพิ่มอินทรียวัตถุในดินและปรับปรุง
               คุณสมบัติทางกายภาพ ช่วยควบคุมวัชพืช และช่วยปรับสภาพแวดล้อมบริเวณที่ปลูกพืชให้เหมาะสม มาตรการ
               ที่นิยมใช้ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2544) ได้แก่
                         (1) การปลูกพืชตามแนวระดับ (Contour Cultivation) เป็นการไถพรวนหว่านปลูกและเก็บเกี่ยว

               พืชไปตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ เพื่อเพิ่มการซาบซึมน้ าของดิน รักษาความชุ่มชื้นในดิน
               ควบคุมการไหลบ่าของน้ า และการชะล้างพังทลายของดิน ประสิทธิภาพของการปลูกพืชตามแนวระดับนี้
               ขึ้นอยู่กับลักษณะของดิน ความลาดเท ลมฟูาอากาศ และลักษณะการใช้ที่ดิน โดยทั่วไปแล้วการปลูกพืชตาม
               แนวระดับที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดนั้น ควรปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเท  2-7 เปอร์เซ็นต์ และระยะของความ

               ลาดเทไม่ควรเกิน 100 เมตร ประโยชน์ของการปลูกพืชในแนวระดับ สามารถช่วยสงวนดินจากการเซาะกร่อน
               ประมาณ 0.12–16.72 ตันต่อไร่ต่อปีสงวนน้ าไว้ในดินประมาณ 12.3–482.6 มิลลิเมตรต่อปี ผลผลิตเพิ่มขึ้น
               ประมาณร้อยละ 10   ปูองกันกล้าพืชและเมล็ดพืชมิให้ถูกน้ าชะพาไป (กรมพัฒนาที่ดิน, 2544)

                         (2) การปลูกพืชสลับ (Strip Cropping) หมายถึง การปลูกพืชที่ให้การคุ้มกันดินสลับกับพืชที่ไม่ให้
               การคุ้มกันดิน หลักการปลูกพืชเป็นแถบสลับ คือ เมื่อฝนตกลงมาบนพื้นที่ที่มีความลาดเทก็จะเกิดน้ าไหลบ่าบน
               ผิวดินที่ไม่ได้คุ้มกันดิน อัตราการไหลของน้ าที่ไหลบ่าจะเป็นไปตามธรรมชาติ แต่เมื่อน้ าที่ไหลบ่ามาถึงแถบที่
               ปลูกพืชคุ้มกันดิน จะท าให้อัตราการไหลของน้ าที่ผิวดินลดลงการปลูกพืชสลับเป็นการลดอัตราการเกิด sheet
               erosion  และการปูองกันการเกิดการพังทลายที่เป็นร่องน้ าขนาดใหญ่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับมีอยู่ 4 ชนิด

               ดังต่อไปนี้
                              (2.1) Field  Strip  Cropping  ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับที่มีความกว้างของแถบ
               สม่ าเสมอกัน โดยวางให้แถบของพืชขวางกับทิศทางของความลาดเทโดยไม่ค านึงถึงระดับของพื้นที่ การปลูก

               พืชแบบนี้นิยมปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเทไม่สม่ าเสมอ ในบางแห่งการปลูกพืชสลับวิธีนี้ร่วมกับ wind strip
               cropping จะให้ผลดีในการควบคุมการพังทลายของดิน
                              (2.2) Contour Strip Cropping ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับไปบนแนวระดับ และวาง
               แถบของพืชตั้งฉากหรือขวางกับทิศทางของความลาดเท โดยปลูกพืชหมุนเวียนประเภทคุ้มกันดิน

                              (2.3) Wind Strip Cropping ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับที่มีแถบสม่ าเสมอกันและขวาง
               ทิศทางลมเหมาะที่จะปลูกในที่ราบหรือเกือบราบ และมีปัญหาการพังทลายของดินโดยลม
                              (2.4) Buffer Strip Cropping ได้แก่ การปลูกพืชเป็นแถบสลับที่มีความกว้างของแถบสลับไม่
               สม่ าเสมอกัน มักปลูกหญ้าสลับพืชตระกูลถั่ว การปลูกพืชแบบนี้ปูองกันการพังทลายของดินมากกว่า

               จุดประสงค์อื่นๆ
                         (3)  การปลูกพืชเป็นแนวปูองกันลม (Windbreak)  เป็นการปลูกพืชที่มีกิ่งใบแน่นเป็นการปลูกพืช
               ขวางทิศทางลม เพื่อลดความเร็วและการสูญเสียที่เกิดขึ้นกับดินไม่โค่นล้มง่ายขวางทางลมไว้ เพื่อลดความแรง
               ของลมและลดการระเหยของน้ าที่ผิวหน้าดิน ส าหรับชนิดของพืชขนาดความสูงและจ านวนที่ปลูก ขึ้นอยู่กับ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48