Page 61 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        54



                   ตารางที่ 19 แสดงสมบัติทางเคมีในตัวอย่างกากตะกอนน้ าเสีย

                                       ค่าความเป็น     ความชื้น      ค่าการน าไฟฟ้า  อัตราส่วนคาร์บอน
                                       กรดเป็นด่าง    (เปอร์เซ็นต์)     (EC) (dS/m)    ต่อไนโตรเจน
                                                                                          (C/N)

                    เกณฑ์มาตรฐานปุ๋ย     5.5-8.5        <=35             <=10             <=20:1
                        1/
                     หมัก
                    กากตะกอนน้ าเสีย      5.04          73.85            2.86              7:1

                         1/
                   ที่มา :   กรมพัฒนาที่ดิน (2550)
                          4.2.1.2 ปริมาณธาตุอาหารพืชของกากตะกอนน้ าเสีย แสดงในตารางที่ 20
                          จากการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารพืชของกากตะกอนน้ าเสีย พบว่า มีปริมาณอินทรียวัตถุ

                   38.10 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณไนโตรเจน 3.69 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัส 3.33 เปอร์เซ็นต์ และปริมาณ
                   โพแทสเซียม 0.36 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งกากตะกอนน้ าเสียมีปริมาณธาตุอาหารพืชผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก
                   ยกเว้น ปริมาณโพแทสเซียม มีค่าน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก

                   ตารางที่ 20 แสดงปริมาณธาตุอาหารพืชในตัวอย่างกากตะกอนน้ าเสีย

                                                      ปริมาณธาตุอาหารพืช (เปอร์เซ็นต์)

                                     อินทรียวัตถุ (OM)  ไนโตรเจน (N)  ฟอสฟอรัส (P)     โพแทสเซียม (K)
                    เกณฑ์มาตรฐาน         >=30              >=1            >=0.5            >=0.5
                           1/
                    ปุ๋ยหมัก
                    กากตะกอนน้ า         38.10             3.69            3.33             0.36

                    เสีย

                   ที่มา :   กรมพัฒนาที่ดิน (2550)
                         1/
                          จากการศึกษาคุณสมบัติด้านต่างๆ ของกากตะกอนน้ าเสีย  พบว่า กากตะกอนน้ าเสียมีคุณสมบัติ
                   ทางเคมี และปริมาณธาตุอาหารพืชส่วนใหญ่ที่เหมาะสมสามารถน าไปใช้ในการท าปุ๋ยหมักได้ ยกเว้น
                   ปริมาณโพแทสเซียมที่มีค่าน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก จึงต้องมีการปรับปรุงหรือหมักร่วมกับวัสดุ

                   อื่นๆ เพื่อให้มีปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มสูงขึ้น  สัมพันธ์กับรายงานวิจัยของ รพีพร (2539) ซึ่งได้
                   ท าการศึกษากากตะกอนน้ าเสียจากโรงงาน 5 โรงงาน พบว่า กากตะกอนน้ าเสีย 5 โรงงาน มีคุณสมบัติ
                   ทางเคมีที่มีความเหมาะสมและมีปริมาณธาตุอาหารหลักเพียงพอต่อการน าไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ซึ่งช่วยเพิ่ม
                   ผลผลิต และปริมาณไนโตรเจนในผักกาดหอม โดยเฉพาะกากตะกอนโรงงานผงชูรสและโรงงานน้ าอัดลม
                   ให้ผลผลิตสูงสุด ซึ่งให้ปริมาณผลผลิตเทียบเท่ากับการใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 20-10-10 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่

                   และเมื่อใส่ปุ๋ยเคมีในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ รวมกับกากตะกอน พบว่า ไม่มีผลท าให้ผลผลิตและปริมาณ
                   ไนโตรเจนในผักกาดหอมเพิ่มขึ้นกว่าการใส่กากตะกอนเพียงอย่างเดียว และสัมพันธ์กับรายงานวิจัยของ สุ
                   จินดา (2542) ได้กล่าวถึงการน ากากตะกอนบ าบัดน้ าเสียชุมชนมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เป็นอีก

                   แนวทางหนึ่งในการน าประโยชน์จากของเสียมาใช้ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากงานวิจัยทั้งในและ
                   ต่างประเทศ พบว่า กากตะกอนบ าบัดน้ าเสียชุมชนมีธาตุอาหารที่มีศักยภาพ ในความเป็นปุ๋ยเทียบเท่ากับ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66