Page 59 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 59

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        52



                   ตารางที่ 17 ผลการวิเคราะห์ลักษณะและสมบัติของกากตะกอน

                         พารามิเตอร์        กากตะกอนที่  กากตะกอนที่  ปุ๋ยหมักที่ผลิต    มาตรฐานปุ๋ย
                                           ไม่ได้ย่อยสลาย  ย่อยสลายแล้ว  จากกากตะกอน       อินทรีย์ *
                    ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง      6.97          7.08           8.12             -

                     (pH)
                    ค่าการน าไฟฟ้า              1.89          2.06           1.49            ≤10
                    (มิลลิซีเมนต่อเมตร)
                    ความชื้น (เปอร์เซ็นต์)     75.41          72.50          54.35           ≤30
                    อินทรียวัตถุ (เปอร์เซ็นต์)   30.09        26.20          24.97           ≥20

                    อินทรีย์คาร์บอน            17.45          15.20          14.48            -
                    (เปอร์เซ็นต์)
                    คาร์บอนต่อไนโตรเจน          4.53          4.28           5.89            ≤20

                   ที่มา :  * กรมวิชาการเกษตร (2551)

                          6) ปริมาณธาตุอาหารหลัก (N P K) จากการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารหลักของพืชในกาก

                   ตะกอน 3 ชนิด พบว่า ปริมาณไนโตรเจน และปริมาณฟอสฟอรัสมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของปุ๋ยอินทรีย์
                   ตามประกาศของกรมวิชาการเกษตร 2551 (ไนโตรเจนไม่น้อยกว่า 1.0 และฟอสฟอรัสไม่น้อยกว่า 0.5
                   เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) ซึ่งกากตะกอนที่ไม่ได้ย่อยสลาย กากตะกอนที่ย่อยสลายแล้ว และปุ๋ยหมักที่ผลิต
                   จากกากตะกอนมีปริมาณไนโตรเจน 3.85 3.55 และ 2.46 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ และมีปริมาณฟอสฟอรัส

                   0.73 0.85 และ 0.85 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ส าหรับปริมาณโพแทสเซียมของกากตะกอนทั้ง 3 ชนิด มีค่า
                   0.19 0.24 และ 0.25 เปอร์เซ็นต์ตามล าดับ ซึ่งต่ ากว่าเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ตามประกาศกรมวิชาการ
                   เกษตร 2551 (ไม่น้อยกว่า 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) (ตารางที่ 18)

                   ตารางที่ 18 ปริมาณธาตุอาหารหลัก (N P K) ของกากตะกอน

                         พารามิเตอร์        กากตะกอนที่  กากตะกอนที่  ปุ๋ยหมักที่ผลิต    มาตรฐานปุ๋ย

                                           ไม่ได้ย่อยสลาย  ย่อยสลายแล้ว  จากกากตะกอน       อินทรีย์ *
                    ไนโตรเจน (เปอร์เซ็นต์)      3.85          3.55           2.46            ≥1.0
                    ฟอสฟอรัส (เปอร์เซ็นต์)      0.73          0.85           0.85            ≥0.5
                    โพแทสเซียม(เปอร์เซ็นต์)     0.19          0.24           0.25            ≥0.5

                   ที่มา :  * กรมวิชาการเกษตร (2551)

                          4.1.2.2 ทดสอบการงอกของเมล็ด

                          การเพาะเมล็ดผักกวางตุ้งต้น และเมล็ดผักกาดขาวปลี ด้วยน้ าสกัดจากปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกาก
                   ตะกอนให้ผลการงอก และความยาวรากดีที่สุด ที่เป็นเช่นนี้ เพราปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนถูกย่อย
                   สลายจนสมบูรณ์มากกว่ากากตะกอนอีก 2 ชนิด โดยที่กระบวนการหมักท าปุ๋ยท าให้เกิดการย่อยสลายของ

                   สารอินทรีย์ ให้ธาตุอาหารที่พืชสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ และมีการควบคุมคุณสมบัติของปุ๋ยให้มีความ
                   เหมาะสมต่อการปลูกพืช นอกจากนี้เมื่อการหมักปุ๋ยยิ่งสมบูรณ์เท่าใดจะให้สารประกอบ เช่น แอมโมเนีย
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64