Page 62 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 62

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        55



                   ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยเคมี เนื่องจากกากตะกอนบ าบัดน้ าเสียชุมชนมีองค์ประกอบเป็นอินทรีย์สาร
                   และอนินทรีย์สาร ส าหรับโลหะหนักที่มีอยู่ในกากตะกอนบางชนิดเป็นจุลธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับพืช
                   และบางชนิดเป็นพิษต่อพืชเช่นกัน ดังนั้นก่อนที่จะน ากากตะกอนบ าบัดน้ าเสียชุมชนไปใช้ จ าเป็นที่จะต้อง
                   ตรวจวัดคุณสมบัติขององค์ประกอบต่างๆ ในดินและกากตะกอนบ าบัดน้ าเสียก่อน เช่น ระดับพีเอช

                   อินทรียวัตถุ ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด ฟอสฟอรัส โพแทสเซียมและโลหะหนัก โดยให้มีค่าอยู่ในปริมาณที่
                   ยอมรับได้ไม่เป็นอันตรายต่อพืชและดิน
                          4.2.2 ศึกษาสมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารพืชในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ าเสีย
                          4.2.2.1 สมบัติทางเคมีของปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ าเสีย (ตารางที่ 21)

                          1) ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง  (pH)
                          จากการศึกษาจะเห็นได้ว่า ค่าความเป็นกรดเป็นด่างหลังจากหมักเป็นปุ๋ยสมบูรณ์แล้ว มีค่าความ
                   เป็นกรดเป็นด่างเพิ่มสูงขึ้น ในต ารับที่ 1 ตะกอนสด 100 เปอร์เซ็นต์ (5.16) ต ารับที่ 2 ตะกอนสด 75
                   เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับขุยมะพร้าว 25 เปอร์เซ็นต์ (5.62) และต ารับที่ 4  ตะกอนสด 25 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับขุย

                   มะพร้าว 75 เปอร์เซ็นต์ (5.70) ซึ่ง 3 ต ารับนี้ มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก ส่วน
                   ต ารับที่ 3  ตะกอนสด 50 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับขุยมะพร้าว 50 เปอร์เซ็นต์  มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างลดลง
                   คือ 4.89  และไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก อย่างไรก็ตาม ถ้าค่าความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ในช่วงที่สูง
                   หรือต่ ามาก ควรมีการปรับค่าความเป็นกรดเป็นด่างให้อยู่ในช่วงปกติ โดยการใส่ ปูนขาว ขี้เถ้า หรือมูล

                   สัตว์ (ระเบียบ และคณะ, 2544)
                          2) ความชื้น
                          จากการศึกษา พบว่า ทุกต ารับ หลังจากหมักเป็นปุ๋ยสมบูรณ์แล้วมีปริมาณความชื้นอยู่ในช่วง 25-
                   35 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก

                          3) ค่าการน าไฟฟ้า
                          จากการศึกษา พบว่า ทุกต ารับ หลังจากหมักเป็นปุ๋ยสมบูรณ์แล้วมีค่าการน าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอยู่
                   ในช่วง 3.70 – 5.23 ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก

                          4) อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N)
                          อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน เป็นค่าที่บ่งบอกความยากง่ายต่อการย่อยสลาย และยังเป็น
                   ตัวก าหนดระดับการเป็นปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์ โดยทั่วไปแล้วคุณภาพและมาตรฐานปุ๋ยหมักเมื่อสิ้นสุดระยะ
                   การหมักไม่ควรเกิน 20:1 (กรมพัฒนาที่ดิน,2550) ในการท าปุ๋ยหมักโดยใช้กากตะกอนน้ าเสีย เป็นวัสดุใน
                   การหมักร่วมกับขุยมะพร้าว พบว่า ต ารับที่1 กากตะกอนสด 100 เปอร์เซ็นต์ มีอัตราส่วนคาร์บอนต่อ

                   ไนโตรเจนต่ าที่สุด (7.50 :1) และใกล้เคียงกับอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนเริ่มต้นของกากตะกอนน้ า
                   เสีย (7:1) ส่วนต ารับที่ 2 ต ารับที่ 3 และต ารับที่ 4  มีอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนเพิ่มขึ้น 9:1 12.5:1
                   และ 18:1 ตามล าดับ ซึ่งเห็นได้ว่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณการใส่ขุยมะพร้าวในกองปุ๋ยหมัก แต่เมื่อพิจารณาทุก

                   ต ารับจะพบว่า มีอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจนผ่านเกณฑ์มาตรฐานปุ๋ยหมัก
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67