Page 27 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        20


                   ตะกอนเร่งแบบอื่นๆ คือ การเติมอากาศ และการตกตะกอน จะด าเนินการเป็นไปตามล าดับภายในถัง
                   ปฏิกิริยาเดียวกัน โดยการเดินระบบบ าบัดน้ าเสียแบบเอสบีอาร์หนึ่งรอบการท างาน จะมี 5 ช่วง ตามล าดับ

                   คือ (1) ช่วงเติมน้ าเสีย (fill) น าน้ าเสียเข้าระบบ  (2) ช่วงท าปฏิกิริยา (React) เป็นการลดสารอินทรีย์ใน
                   น้ าเสีย (BOD) (3) ช่วงตกตะกอน (Settle) ท าให้ตะกอนจุลินทรีย์ตกลงก้นถังปฏิกิริยา (4) ช่วงระบายน้ า
                   ทิ้ง (Draw) ระบายน้ าที่ผ่านการบ าบัด และ (5) ช่วงพักระบบ (Idle) เพื่อซ่อมแซมหรือรอรับน้ าเสียใหม่
                          ระบบบ าบัดน้ าเสียแบบแผ่นจานหมุนชีวภาพ (Rotating Biological Contactor : RBC) ระบบ

                   แผ่นจานหมุนชีวภาพเป็นระบบบ าบัดน้ าเสียทางชีววิทยาให้น้ าเสียไหลผ่านตัวกลางลักษณะทรงกระบอก
                   ซึ่งวางจุ่มอยู่ในถังบ าบัด ตัวกลางทรงกระบอกนี้จะหมุนอย่างช้าๆ เมื่อหมุนขึ้นพ้นน้ าและสัมผัสอากาศ
                   จุลินทรีย์ที่อาศัยติดอยู่กับตัวกลางจะใช้ออกซิเจนจากอากาศย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ าเสียที่สัมผัสติด

                   ตัวกลางขึ้นมา และเมื่อหมุนจมลงก็จะน าน้ าเสียขึ้นมาบ าบัดใหม่สลับกันเช่นนี้ตลอดเวลา  หลักการท างาน
                   ของระบบ กลไกการท างานของระบบในการบ าบัดน้ าเสียอาศัยจุลินทรีย์แบบใช้อากาศจ านวนมากที่ยึด
                   เกาะติดบนแผ่นจานหมุนในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ าเสีย โดยการหมุนแผ่นจานผ่านน้ าเสีย ซึ่งเมื่อ
                   แผ่นจานหมุนขึ้นมาสัมผัสกับอากาศก็จะพาเอาฟิล์มน้ าเสียขึ้นสู่อากาศด้วย ท าให้จุลินทรีย์ได้รับออกซิเจน
                   จากอากาศ เพื่อใช้ในการย่อยสลายหรือเปลี่ยนรูปสารอินทรีย์เหล่านั้นให้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้ า

                   และเซลล์จุลินทรีย์ ต่อจากนั้นแผ่นจานจะหมุนลงไปสัมผัสกับน้ าเสียในถังปฏิกิริยาอีกครั้ง ท าให้ออกซิเจน
                   ส่วนที่เหลือผสมกับน้ าเสีย ซึ่งเป็นการเติมออกซิเจนให้กับน้ าเสียอีกส่วนหนึ่ง สลับกันเช่นนี้ตลอดเป็นวัฏ
                   จักร แต่เมื่อมีจ านวนจุลินทรีย์ยึดเกาะแผ่นจานหมุนหนามากขึ้น จะท าให้มีตะกอนจุลินทรีย์บางส่วนหลุด

                   ลอกจากแผ่นจานเนื่องจากแรงเฉื่อยของการหมุน ซึ่งจะรักษาความหนาแน่นของแผ่นฟิล์มให้ค่อนข้างคงที่
                   โดยอัตโนมัติ ทั้งนี้ตะกอนจุลินทรีย์แขวนลอยที่ไหลออกจากถังปฏิกิริยานี้ จะไหลเข้าสู่ถังตกตะกอนเพื่อ
                   แยกตะกอนจุลินทรีย์และน้ า ระบบแผ่นจานหมุนชีวภาพเป็นระบบบ าบัดน้ าเสียอีกรูปแบบหนึ่งของระบบ
                   บ าบัดขั้นที่สอง ซึ่งองค์ประกอบหลักของระบบประกอบด้วย ถังตกตะกอนขั้นต้น ท าหน้าที่ในการแยก

                   ของแข็งที่มากับน้ าเสีย ถังปฏิกิริยา ท าหน้าที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ าเสีย ถังตกตะกอนขั้นที่สอง ท า
                   หน้าที่ในการแยกตะกอนจุลินทรีย์และน้ าทิ้งที่ผ่านการบ าบัดแล้ว โดยในส่วนของถังปฏิกิริยาประกอบด้วย
                   แผ่นจานพลาสติกจ านวนมากที่ท าจาก Polyethylene (PE) หรือ High Density Polyethylene (HDPE)
                   วางเรียงขนานซ้อนกัน โดยติดตั้งฉากกับเพลาแนวนอนตรงจุดศูนย์กลางแผ่น ซึ่งจุลินทรีย์ที่ใช้ในการบ าบัด

                   น้ าเสียจะยึดเกาะติดบนแผ่นจานนี้เป็นแผ่นฟิล์มบางๆ หนาประมาณ 1-4 มิลลิเมตร หรือที่เรียกระบบนี้อีก
                   อย่างว่าเป็นระบบ Fixed Film  ทั้งนี้ชุดแผ่นจานหมุนทั้งหมดวางติดตั้งในถังคอนกรีตเสริมเหล็ก ระดับ
                   ของเพลาจะอยู่เหนือผิวน้ าเล็กน้อย ท าให้พื้นที่ผิวของแผ่นจานจมอยู่ในน้ าประมาณร้อยละ 35 -40 ของ
                   พื้นที่แผ่นทั้งหมด และในการหมุนของแผ่นจานหมุนชีวภาพอาศัยชุดมอเตอร์ขับเคลื่อนเพลาและเฟือง

                   ทดสอบ เพื่อหมุนแผ่นจานในอัตราประมาณ 1-3 รอบต่อนาที  ระบบแผ่นจานหมุนชีวภาพ จะ
                   ประกอบด้วยหน่วยบ าบัด ดังนี้ บ่อปรับสภาพการไหล (Equalizing Tank) ถังตกตะกอนขั้นต้น (Primary
                   Sedimentation Tank) ระบบแผ่นหมุนเวียนชีวภาพ (Rotating Biological Contactor) ถังตกตะกอน

                   ขั้นที่ 2 (Secondary Sedimentation Tank) และบ่อเติมคลอรีน (Chlorine Tank)
                          ระบบบ าบัดขั้นที่สาม (Tertiary Treatment) สุเทพ ( ม.ป.ป) ได้กล่าวว่า ระบบบ าบัดขั้นที่สาม
                   เป็นการก าจัดน้ าเสียโดยการก าจัดสารแขวนลอย ของแข็งละลายบางชนิด สารอินทรีย์ที่จุลชีพใช้ไม่ได้
                   สารอาหาร สี กลิ่น และสิ่งเจือปนอื่นๆ ที่หลงเหลือจากการบ าบัดขั้นที่สอง อาจประกอบด้วยระบบ
                   ดังต่อไปนี้ การก าจัดฟอสฟอรัส (Phosphorus Removal)  ได้แก่ การเปลี่ยนฟอสฟอรัสที่ละลายน้ าอยู่
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32