Page 25 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        18


                   (จ านวนบ่อขึ้นอยู่กับการออกแบบ) บ่อบ่มเพิ่มปรับสภาพน้ าทิ้ง (จ านวนบ่อขึ้นอยู่กับการออกแบบ) บ่อเติม
                   คลอรีนส าหรับฆ่าเชื้อโรค จ านวน 1 บ่อ

                          ระบบบ าบัดน้ าเสียแบบบึงประดิษฐ์ (Constructed Wetland) บึงประดิษฐ์มี 2 ประเภท ได้แก่
                   Free Water Surface Wetland (FES) ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับบึงธรรมชาติ และแบบ Vegetated
                   Submerged Bed System (VSB) ซึ่งจะมีชั้นดินปนทรายส าหรับปลูกพืชน้ าและชั้นหินรองก้นบ่อเพื่อเป็น
                   ตัวกรองน้ าเสีย หลักการท างานของระบบ เมื่อน้ าเสียไหลเข้ามาในบึงประดิษฐ์ส่วนต้น สารอินทรีย์ส่วน

                   หนึ่งจะตกตะกอนจมตัวลงสู่ก้นบึง และถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ส่วนสารอินทรีย์ที่ละลายน้ าจะถูกก าจัด
                   โดยจุลินทรีย์ที่เกาะติดอยู่กับพืชน้ าหรือชั้นหินและจุลินทรีย์ที่แขวนลอยอยู่ในน้ า ระบบนี้จะได้รับ
                   ออกซิเจนจากการแทรกซึมของอากาศผ่านผิวน้ าหรือชั้นหินลงมา ออกซิเจนบางส่วนจะได้จากการ

                   สังเคราะห์แสงแต่มีปริมาณไม่มากนัก ส าหรับสารแขวนลอยจะถูกกรองและจมตัวอยู่ในช่วงต้น ๆ ของ
                   ระบบ  การลดปริมาณไนโตรเจนจะเป็นไปตามกระบวนการไนตริฟิเคชั่น และดิไนตริฟิเคชั่น ส่วนการลด
                   ปริมาณฟอสฟอรัสส่วนใหญ่จะเกิดที่ชั้นดินส่วนพื้นบ่อ และพืชน้ าจะช่วยดูดซับฟอสฟอรัสผ่านทางราก
                   และน าไปใช้ในการสร้างเซลล์ นอกจากนี้ระบบบึงประดิษฐ์ยังสามารถก าจัดโลหะหนักได้บางส่วนอีกด้วย
                   ระบบบึงประดิษฐ์แบบ Free Water Surface Wetland (FWS) เป็นแบบที่นิยมใช้ในการปรับปรุงคุณภาพ

                   น้ าทิ้งหลังจากผ่านการบ าบัดจากบ่อปรับเสถียรแล้ว  ลักษณะของระบบแบบนี้จะเป็นบ่อดินที่มีการบดอัด
                   ดินให้แน่นหรือปูพื้นด้วยแผ่น HDPE ให้ได้ระดับเพื่อให้น้ าเสียไหลตามแนวนอนขนานกับพื้นดิน บ่อดินจะ
                   มีความลึกแตกต่างกัน เพื่อให้กระบวนการบ าบัดตามธรรมชาติอย่างสมบูรณ์โครงสร้างของระบบแบ่งเป็น

                   3 ส่วน (อาจเป็นบ่อเดียวกันหรือหลายบ่อขึ้นกับการออกแบบ) คือ  ส่วนแรก เป็นส่วนที่มีการปลูกพืชที่มี
                   ลักษณะสูงโผล่พ้นน้ าและรากเกาะดินปลูกไว้ เช่น กก แฝก ธูปฤาษี เพื่อช่วยในการกรองและตกตะกอน
                   ของสารแขวนลอยและสารอินทรีย์ที่ตกตะกอนได้ ท าให้ก าจัดสารแขวนลอยและสารอินทรีย์ได้บางส่วน
                   เป็นการลดสารแขวนลอยและค่าบีโอดีได้ส่วนหนึ่ง ส่วนที่สอง เป็นส่วนที่มีพืชชนิดลอยอยู่บนผิวน้ า เช่น

                   จอก แหน บัว รวมทั้งพืชขนาดเล็กที่แขวนลอยอยู่ในน้ า พื้นที่ส่วนที่สองนี้จะไม่มีการปลูกพืชที่มีลักษณะสูง
                   โผล่พ้นน้ าเหมือนในส่วนแรกและส่วนที่สาม น้ าในส่วนนี้จึงมีการสัมผัสอากาศและแสงแดดท าให้มีการ
                   เจริญเติบโตของสาหร่ายซึ่งเป็นการเพิ่มออกซิเจนละลายน้ า ท าให้จุลินทรีย์ชนิดที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลาย
                   สารอินทรีย์ที่ละลายน้ าได้เป็นการลดค่าบีโอดีในน้ าเสีย และยังเกิดสภาพไนตริฟิเคชั่นด้วย ส่วนที่สาม มี

                   การปลูกพืชในลักษณะเดียวกับส่วนแรก เพื่อช่วยกรองสารแขวนลอยที่ยังเหลืออยู่ และท าให้เกิดสภาพดิ
                   ไนตริฟิเคชั่น เนื่องจากออกซิเจนละลายน้ าลดลง ซึ่งสามารถลดสารอาหารจ าพวกสารประกอบไนโตรเจน
                   ได้ ส าหรับระบบบึงประดิษฐ์แบบ Vegetated Submerged Bed System (VSB) จะมีข้อดีกว่าแบบ Free
                   Water Surface Wetland คือ เป็นระบบที่แยกน้ าเสียไม่ให้ถูกรบกวนจากแมลงหรือสัตว์ และป้องกัน

                   ไม่ให้จุลินทรีย์ต่างๆ ที่ท าให้เกิดโรคมาปนเปื้อนกับคนได้ ในบางประเทศใช้ระบบบึงประดิษฐ์แบบนี้ในการ
                   บ าบัดน้ าเสียจากบ่อเกรอะ และปรับปรุงคุณภาพน้ าทิ้งจากระบบแอกติเวเต็ดจ์สลัดจ์ และระบบอาร์บีซี
                   หรือใช้ในการปรับปรุงคุณภาพน้ าที่ระบายออกจากอาคารดักน้ าเสีย ส่วนประกอบที่ส าคัญในการบ าบัดน้ า

                   เสียของระบบบึงประดิษฐ์แบบนี้คือ  พืชที่ปลูกในระบบ จะมีหน้าที่สนับสนุนให้เกิดการถ่ายเทก๊าซ
                   ออกซิเจนจากอากาศเพื่อเพิ่มออกซิเจนให้แก่น้ าเสีย  และยังท าหน้าที่สนับสนุนให้ก๊าซที่เกิดขึ้นในระบบ
                   เช่น ก๊าซมีเทน จากการย่อยสลายแบบแอนแอโรบิค สามารถระบายออกจากระบบได้อีกด้วย นอกจากนี้
                   ยังสามารถก าจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสได้โดยการน าไปใช้ในการเจริญเติบโตของพืช ตัวกลาง จะมี
                   หน้าที่ส าคัญ คือ เป็นที่ส าหรับให้รากของพืชที่ปลูกในระบบยึดเกาะ ช่วยให้เกิดกระจายของน้ าเสียที่เข้า
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30