Page 22 - การศึกษาธาตุอาหารในปุ๋ยหมักที่ผลิตจากกากตะกอนน้ำเสีย เทศบาลเมืองป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        15


                   น้ าเสียจึงเป็นสิ่งจ าเป็น น้ าเสียที่มีค่าพีเอชต่ าสามารถท าให้เป็นกลางได้โดยใช้ปูนขาว โซดาไฟ หรือโซดา
                   แอช ส่วนน้ าที่มีค่าพีเอชสูงท าให้เป็นกลางได้โดยใช้กรดชนิดต่างๆ เช่น กรดก ามะถัน กรดเกลือ หรือ

                   บางครั้งอาจใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก็ได้ การแลกเปลี่ยนไอออน (Ion Exchange) กระบวนการ
                   แลกเปลี่ยนไอออน สามารถก าจัดไอออนบวกและไอออนลบจากน้ าเสียได้ ในปัจจุบันสารแลกเปลี่ยนแบ่ง
                   ออกเป็น  2 ประเภท คือ  ซีโอไลต์   และเรซินแลกเปลี่ยนไอออน ซึ่งเรซินแลกเปลี่ยนไอออนเป็นที่นิยม
                   มากกว่า เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูงกว่ามาก น้ าเสียจะไหลผ่านถังที่บรรจุเรซินแลกเปลี่ยนไอออน ไออน

                   ประจุบวกในน้ าเสียจะแลกเปลี่ยนกับไอออนของไฮโดรเจน หรือไอออนโซเดียม ของเรซินแลกเปลี่ยน
                   ไอออนได้แก่     เรซินแบบกรดแก่ และเรซินแบบกรดอ่อน ส่วนไอออนประจุลบในน้ าเสียจะถูกแลกเปลี่ยน
                   กับไอออนของไฮดรอกไซด์ ของเรซินแลกเปลี่ยนไอออนแบบด่างแก่ เรซินทุกชนิดเมื่อใช้ไปในระยะเวลา

                   หนึ่งจะหมดประสิทธิภาพ แต่สามารถเรียกประสิทธิภาพกลับคืนมาได้อีกโดยการฟื้นฟูสภาพ ซึ่งเรซินแต่
                   ละชนิดจะมีประสิทธิภาพในการรีเจเนอเรชันต่างกัน หน้าที่ของกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออนมี 2
                   ประการ ซึ่งเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องกัน คือ 1) การก าจัดไอออนต่างๆ ออกจากน้ า และอาจใช้ในการก าจัด
                   โลหะต่างๆ ได้ด้วย แต่อาจต้องใช้เรซินที่สังเคราะห์เป็นพิเศษ 2) การท าให้ไอออนต่างๆ มีความเข้มข้นสูง
                   มากๆ ส่วนที่เกิดหลังจากที่ได้น้ าสะอาดแล้ว กล่าวคือ ไอออนที่ถูกก าจัดออกจากสารละลายจะหลุดออกมา

                   กับสารละลายฟื้นฟูสภาพ  ในระหว่างการท าฟื้นฟูสภาพ เนื่องจากปริมาตรของสารละลายฟื้นฟูสภาพต่ า
                   กว่าปริมาณสารละลายซึ่งเป็นที่อยู่เดิมของไอออน ท าให้ความเข้มข้นของไอออนสูงมาก ในบางระบบ
                   สารละลายที่มีความเข้มข้นสูงดังกล่าวถือว่าเป็นของเสีย แต่ในบางกรณีอาจน าไปใช้ประโยชน์ได้  และ

                   กระบวนการออกซิเดชัน-รีดักชัน (Oxidation-Reduction) ในกรณีที่ต้องก าจัดสารมลพิษที่ละลายอยู่ใน
                   น้ า แต่ไม่สามารถใช้วิธีการตกตะกอนผลึกได้ อาจใช้กระบวนออกซิเดชัน-รีดักชันที่เปลี่ยนสารมลพิษให้
                   เป็นสารที่ไม่มีพิษ กระบวนการออกซิเดชัน-รีดักชัน ได้แก่ การเติมสารเคมี ซึ่งอาจจะเป็นสารออกซิไดซ์
                   หรือสารรีดิวซ์ อย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อไปท าปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชันกับสารมลพิษ ผลของปฏิกิริยาท า

                   ให้ได้สารที่ไม่เป็นพิษหรือมีความเป็นพิษน้อยลดลง
                          กระบวนการบ าบัดน้ าเสียทางชีวภาพ  เป็นกระบวนการที่ใช้จุลินทรีย์ในการก าจัดสารอินทรีย์ทั้งที่
                   เป็นคอลลอยด์ที่แขวนลอย รวมทั้งสารอินทรีย์ที่ละลายในน้ าเสีย และในบางกรณียังใช้ในการบ าบัดธาตุ
                   อาหารออกจากน้ าเสียด้วย ความสกปรกในรูปของสารอินทรีย์ที่บ าบัดได้จะต้องเป็นสารอินทรีย์ซึ่งสามารถ

                   ถูกใช้เป็นแหล่งคาร์บอน และแหล่งของพลังงานโดยจุลินทรีย์เพื่อสังเคราะห์เซลล์ใหม่ได้ ผลก็คือท าให้
                   ความสกปรกในน้ าเสียลดลง โดยจุลินทรีย์อาจแบ่งเป็นใช้ออกซิเจนหรือไม่ใช้ออกซิเจนก็ได้   ซึ่งในแต่ละ
                   ประเภทยังสามารถแบ่งออกได้เป็น  แบบที่ให้จุลินทรีย์ล่องลอยอยู่ในน้ าเสีย และแบบที่ให้จุลินทรีย์
                   เกาะติดกับวัสดุตัวกลาง ระบบบ าบัดที่อาศัยหลักการทางชีวภาพมีหลายชนิด อาทิเช่น ระบบแอกติเวเต็ด

                   สลัดจ์ ระบบโปรยกรอง ระบบชุดสัมผัสหมุนชีวภาพ และระบบถังกรองไร้อากาศ เป็นต้น
                       3.2.2 ขั้นตอนการบ าบัดน้ าเสีย
                          ขั้นตอนในการบ าบัดน้ าเสียขึ้นอยู่กับลักษณะน้ าเสียแต่ละชนิด โดย สุเทพ (มปป) แบ่งขั้นตอน

                   การบ าบัดน้ าเสียไว้ ดังนี้
                          ระบบบ าบัดขั้นต้น (Primary Treatment) เป็นการบ าบัดน้ าเสียขั้นตอนแรก มักจะเป็น
                   ปฏิบัติการทางกายภาพ ในการก าจัดสารที่ลอยหรือตกตะกอนได้ในน้ าเสีย หรือแยกของแข็งที่ไม่ละลายน้ า
                   ออกจากน้ าเสีย เป็นการลดปริมาณของแข็งและน้ ามันหรือไขมันที่ลอยอยู่ และลดปริมาณภาระแบกรับ
                   สารของการบ าบัดน้ าเสียในขั้นต่อไป กระบวนการบ าบัดขั้นต้นไม่เน้นการก าจัดสารอินทรีย์ กระบวนการนี้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27