Page 21 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       14







                       (ร้อยละ 4.54) มีการปลูกพืชหมุนเวียนและปลูกพืชหลังท านา โดยใช้พืชตระกูลถั่ว เพื่อเพิ่มความอุดม
                       สมบูรณ์ของดินและลดการระบาดของโรคและแมลง ที่เกิดจากการปลูกพืชซ้ าๆในพื้นที่เดิม


                       ตารางที่ 3 สภาพการใช้ที่ดินต าบลหนองกรด


                           สัญลักษณ์                  สภาพการใช้ที่ดิน                เนื้อที่(ไร่)   ร้อยละ
                              A0             -    เกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม               57          0.06

                              A1             -    นาข้าว                               57,740        64.79
                              A2             -    พืชไร่                                5,431        6.09

                              A3             -    ไม้ยืนต้น                              917         1.02
                              A4             -    ไม้ผล                                  957         1.08
                              A5            -  พืชสวน                                    376          .42

                              A7            -  โรงเรือนเลี้ยงสัตว์                       808         0.91

                              A9            -  ที่เพาะเลี้ยงปลา                          95          0.10
                              F             -  พื้นที่ป่า                               5,409        6.07

                              M             -  พื้นที่เบ็ดเตล็ด                         7,274        8.16

                              U             -  พื้นที่ชุมชนและสิ่งก่อสร้าง              8,647        9.70

                              W             -  พื้นที่น้ า                              1,403        1.58

                                                          รวมเนื้อที่                  89,114       100.00

                       ที่มา : กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน (2557)

                       2.6 สภาพเศรษฐกิจและสังคม

                              ต าบลหนองกรด อ าเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ ร้อยละ 85
                       ประกอบอาชีพท าการเกษตร ร้อยละ 10 ประกอบอาชีพรับจ้าง และร้อยละ 5 ประกอบอาชีพค้าขาย
                       และรับราชการ การเกษตรกรรมหลักได้แก่ท านา ท าไร่ ไม้ยืนต้น และไร่นาสวนผสม ตามล าดับ พื้นที่
                       การเกษตร ร้อยละ 80 เป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน เกษตรกรเพาะปลูกพืชตามฤดูกาลโดยอาศัย

                       น้ าฝนในการท าการเกษตร
                              การประกอบอาชีพด้านการเกษตรกรรมในต าบลหนองกรด เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว
                       79,780 ต่อคนต่อปี ผลผลิตข้าวนาปีประมาณ 500–600 กิโลกรัมต่อไร่ ถั่วเขียวประมาณ 200

                       กิโลกรัมต่อไร่ และมันส าปะหลังผลผลิตประมาณ 4,000 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิต ข้าวนาปี

                       ประมาณ 4,660 บาทต่อไร่ ถั่วเขียวประมาณ 1,610 บาทต่อไร่ และมันส าปะหลังประมาณ 3,452
                       บาทต่อไร่ การถือครองที่ดินท ากินของเกษตรกรเป็นของตนเอง คิดเป็นร้อยละ 70–80 ของครัวเรือน

                       เกษตรกร โดยมีเอกสารสิทธิ์ ได้แก่ น.ส.3 น.ส.3ก และ ภ.ท.บ.5  (กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน , 2557)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26