Page 18 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       11







                       และสมบัติดั้งเดิมของดินนี้ ไม่เหมาะส าหรับการปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น เนื่องจากมีน้ าท่วมขังในช่วง
                       ฤดูฝน ถ้าจะใช้ในการปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น ต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเรื่องน้ าท่วมขังและการระบาย

                       น้ าของดิน โดยการท าคันดินรอบพื้นที่เพื่อป้องกันน้ าท่วม และยกร่องปลูกเพื่อเพิ่มการระบายน้ าของ
                       ดินในช่วงฤดูฝน

                                   1.2) กลุ่มดินร่วนละเอียด
                                   กลุ่มชุดดินที่ 17 เป็นกลุ่มดินร่วนละเอียด ลึกมาก เกิดจากตะกอนล าน้ า พบในบริเวณ

                       พื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างเรียบ ส่วนใหญ่มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดูฝน ดินมีการระบายน้ าค่อนข้างเลว

                       ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ดินชั้นบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน สีน้ าตาลและสีเทา มี
                       จุดประสีน้ าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                       ประมาณ 4.5-55 ส่วนดินชั้นล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายหรือดินร่วนเหนียว  มีสีเทาปนน้ าตาลถึง

                       สีเทา มีจุดประสีน้ าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปะปน และอาจพบศิลาแลงอ่อนหรือก้อนสารเคมีสะสม
                       พวกเหล็กและแมงกานีสในดินชั้นล่าง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็น

                       ด่างประมาณ 5.0-5.5 กลุ่มดินนี้มีเนื้อที่ประมาณ 3,920 ไร่ หรือร้อยละ 4.39 ของพื้นที่ต าบล
                                   ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินคือ ดินมีความอุกมสมบูรณ์ต่ า เนื้อดินบนค่อนข้าง

                       เป็นทราย การปลูกข้าวมักเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ า
                                   ความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืช กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะสมในการท านา

                       มากกว่าการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักในฤดูฝน แต่สามารถใช้ปลูกพืชไร่หรือพืชผักอายุสั้นในฤดูแล้ง

                       ถ้ามีแหล่งน้ าในธรรมชาติหรืออยู่ในเขตชลประทาน
                              2) กลุ่มชุดดินที่อยู่ในพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง ประกอบด้วย

                                   2.1) กลุ่มดินริมแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูปพัด

                                   กลุ่มชุดดินที่ 33 เป็นกลุ่มดินเหนียว ลึกมาก เกิดจากตะกอนแม่น้ าหรือตะกอนน้ าพารูป
                       พัด พบบนสันดินริมน้ าเก่า เนินตะกอนรูปพัด หรือที่ราบตะกอนน้ าพา มีสภาพเป็นพื้นที่ราบเรียบถึง

                       ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย การระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง
                       ดินชั้นบนเป็นดินร่วนปนทรายแป้งหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ าตาล สีเหลืองหรือสีน้ าตาลปน

                       เหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-6.5 ส่วน
                       ดินชั้นล่างเป็นดินร่วนปนทรายแป้งหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง  สีน้ าตาล สีเหลืองหรือสีน้ าตาล

                       ปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงด่างจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 7.0-8.5  กลุ่มดินนี้มีเนื้อ

                       ที่ประมาณ 137 ไร่ หรือร้อยละ 0.15 ของพื้นที่ต าบล
                                   ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินคือ น้ าท่วมบางพื้นที่ในบางปี
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23