Page 16 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         9







                              ทรัพยากรดินที่พบในพื้นที่ต าบลหนองกรด ลักษณะและสมบัติของดินที่มีผลต่อการเกษตร
                       ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ความเหมาะสมส าหรับเพาะปลูกรวมถึงการจัดการดินและธาตุอาหารพืช

                       อธิบายโดยละเอียดดังนี้
                              1) กลุ่มดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ าขัง ประกอบด้วย

                                   1.1) กลุ่มดินเหนียว
                                   กลุ่มชุดดินที่ 4 เป็นกลุ่มชุดดินที่เป็นดินเหนียว ลึกมาก เกิดจากตะกอนล าน้ าในบริเวณที่

                       ราบลุ่มหรือราบเรียบที่อาจได้รับอิทธิพลจากการท่วมของน้ าจากแม่น้ าได้ เป็นกลุ่มดินลึกที่มีการ

                       ระบายน้ าเลวหรือค่อนข้างเลว มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เนื้อดินเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หน้า
                       ดินอาจแตกระแหงเป็นร่องในฤดูแล้ง ดินบนมีสีด า หรือเทาเข้ม มีจุดประสีแดงปนสีเหลืองและสี

                       น้ าตาลแก่ ดินล่างสีเทา สีเทาอ่อนหรือสีเทาอ่อนปนเขียวมะกอก มีจุดประสีเหลือง สีน้ าตาลแก่ หรือสี

                       แดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย ค่าความ
                       เป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-6.5 กลุ่มดินนี้มีเนื้อที่ประมาณ 12,711 ไร่ หรือร้อยละ 14.26 ของ

                       พื้นที่ต าบล
                                   ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินคือ กลุ่มชุดดินนี้ไม่ค่อยมีปัญหาในการใช้ประโยชน์

                       ที่ดิน แต่ถ้าเป็นที่ลุ่มมากๆ จะมีปัญหาเรื่องน้ าท่วมในฤดูฝน
                                   ความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืช กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะสมในการท านาในช่วง

                       ฤดูฝน และเหมาะสมในการปลูกพืชไร่และพืชผักหลายชนิดในช่วงฤดูแล้ง

                                   กลุ่มชุดดินที่ 5 เป็นกลุ่มชุดดินที่เป็นดินเหนียวลึกมาก เกิดจากตะกอนล าน้ า พบใน
                       บริเวณที่ราบตะกอนน้ าพา มีสภาพเป็นพื้นที่ราบลุ่มหรือราบเรียบ การระบายน้ าเลว มีน้ าแช่ขังในช่วง

                       ฤดูฝน ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ดินชั้นบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว สีเทาแก่ มีจุด

                       ประเป็นสีเหลืองหรือสีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย มีความเป็นกรดเป็นด่าง
                       ประมาณ 5.5-6.5 ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง มีสีน้ าตาลปนเทาหรือสีเทา

                       มีจุดประสีน้ าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงปานกลาง ค่าความเป็นกรดเป็น
                       ด่างประมาณ 5.0-7.0 มักพบก้อนสารเคมีสะสมพวกเหล็กและแมงกานีส กลุ่มดินนี้มีเนื้อที่ประมาณ

                       7,406 ไร่ หรือร้อยละ 8.31 ของพื้นที่ต าบล
                                   ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินคือ ปัญหาน้ าท่วมในฤดูฝน การระบายน้ าของดิน

                       เลวจึงไม่สามารถปลูกพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักได้ในช่วงฤดูฝน

                                   ความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืช กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพที่จะใช้ปลูกข้าวในช่วงฤดูฝน
                       เนื่องจากอยู่ในที่ราบต่ า ดินมีการระบายน้ าเลวและมีน้ าแช่ขังเหนือผิวดินอยู่ระหว่าง 4-5 เดือน

                       ในช่วงฤดูแล้งมีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไร่หลายชนิด เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21