Page 17 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       10







                       ข้าวโพดหวาน ยาสูบ และพืชไร่อายุสั้น นอกจากพืชไร่แล้วยังเหมาะสมในการปลูกพืชผักหลายชนิด
                       เช่น กะหล่ าปลี ผักกาดขาว ผักกาดเขียว แตงกวา

                                   กลุ่มชุดดินที่ 6 เป็นกลุ่มชุดดินที่เป็นดินเหนียว ลึกมาก เกิดจากตะกอนล าน้ า พบใน
                       บริเวณพื้นที่ราบตะกอนน้ าพา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดูฝน ดิน

                       มีการระบายน้ าเลวหรือค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ดินชั้นบนเป็นดินร่วนเหนียว
                       หรือดินเหนียว สีเทาแก่ มีจุดประสีน้ าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด ค่าความ

                       เป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.0-5.5 ส่วนดินชั้นล่างเป็นดินเหนียว สีเทาอ่อนหรือสีเทา มีจุดประสี

                       น้ าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด ค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ
                       4.5-5.5 บางพื้นที่มีศิลาแลงอ่อนหรือก้อนสารเคมีสะสมพวกเหล็กแมงกานีสปะปนอยู่ในดินชั้นล่าง

                       กลุ่มดินนี้มีเนื้อที่ประมาณ 12,293 ไร่ หรือร้อยละ 13.79 ของพื้นที่ต าบล

                                   ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินคือ มีน้ าท่วมขังในฤดูฝนประมาณ 3-4 เดือน การ
                       ระบายน้ าของดินเลว ดินเหนียว แน่นทึบ มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                                   ความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืช กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะสมในการใช้ท านา ส่วน
                       ฤดูแล้งสามารถน าไปปลูกพืชไร่อายุสั้นได้หลายชนิด ในกรณีที่ต้องการใช้กลุ่มชุดดินนี้ในการปลูกพืชไร่

                       ไม้ผล และพืชผักตลอดทั้งปี จ าเป็นต้องมีการพัฒนาที่ดิน โดยท าคันรอบพื้นที่ป้องกันน้ าท่วมในฤดูฝน
                       และยกร่องปลูกเพื่อช่วยด้านการระบายน้ าให้ดีขึ้น

                                   กลุ่มชุดดินที่ 7 เป็นกลุ่มดินที่เป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด ลึกมาก เกิดจากตะกอนล า

                       น้ า พบในบริเวณที่ราบตะกอนน้ าพา มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีน้ าแช่ขังในช่วงฤดู
                       ฝน การระบายน้ าเลวหรือค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ดินชั้นบนเป็นดิน

                       ร่วนปนเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ าตาลและสีเทา มีจุดประสีเหลืองหรือสีน้ าตาล

                       ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดเล็กน้อย ค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.0-6.5 ส่วนดินชั้น
                       ล่างเป็นดินร่วนปนดินเหนียวและดินเหนียว สีน้ าตาลปนเทาถึงสีเทา มีจุดประสีน้ าตาล สีเหลืองหรือสี

                       แดง และอาจพบศิลาแลงอ่อนปริมาณร้อยละ 5-50 โดยปริมาตร ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกลาง
                       ค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.0-7.0  กลุ่มดินนี้มีเนื้อที่ประมาณ 30,178 ไร่ หรือร้อยละ 33.86

                       ของพื้นที่ต าบล
                                   ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินคือ เนื่องจากอยู่ในพื้นที่ราบต่ า การระบายน้ าเลว

                       และระดับน้ าใต้ดินตื้น จึงไม่เหมาะสมในการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และพืชผัก

                                   ความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืช กลุ่มชุดดินนี้มีศักยภาพเหมาะสมทั้งการท านา ปลูก
                       พืชไร่และพืชผัก คือในช่วงฤดูฝนเหมาะแก่การปลูกข้าว เนื่องจากอยู่ในที่ราบ มีน้ าท่วมขัง เนื้อดินเป็น

                       ดินเหนียว และมีการระบายน้ าเลวถึงค่อนข้างเลว ในฤดูแล้งหลังการเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว อาจปรับปรุง

                       ดินเพื่อปลูกพืชไร่และพืชผัก เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ข้าวโพด กะหล่ าปลี คะน้า ตามสภาพ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22