Page 48 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       39







                                   4) พื้นที่กักเก็บน้้าของเกษตรกร
                                   พื้นที่ดินเค็มมักพบชั้นดานแข็งที่มีการสะสมเกลือ มีคราบเกลือบนผิวดินมาก เนื้อดิน

                       ค่อนข้างเป็นทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า และขาดแคลนน้้าในการเพาะปลูก จึงได้ออกแบบการ
                       ก่อสร้างพื้นที่กักเก็บน้้าของเกษตรกรในพื้นที่ดินเค็ม จ้านวนทั้งสิ้น 17  บ่อ โดยด้าเนินการใน

                       ปีงบประมาณ 2559 จ้านวน 12 บ่อ และปีงบประมาณ 2560 จ้านวน 5 บ่อ ซึ่งเป็นการขุดสระน้้าลึก
                       2.00  เมตร ฐานล่างกว้าง 8.00  เมตร ฐานบนกว้าง  12.00 เมตร ความยาวประมาณ 15.00  เมตร

                       พร้อมทั้งส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกหญ้าแฝกรอบขอบสระน้้า เพื่อปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน

                       และรักษาความชื้นบริเวณผิวหน้าดิน พื้นที่กักเก็บน้้าของเกษตรกรสามารถกักเก็บน้้าไว้ใช้ส้าหรับ
                       เพาะปลูกพืชในช่วงฤดูแล้งได้ บริเวณขอบสระน้้าเกษตรกรใช้ปลูกพืชผัก นอกจากนี้ยังใช้เลี้ยงปลาเพื่อ

                       บริโภคได้

                                     ผลการด้าเนินงานและการติดตามผล พบว่า พื้นที่กักเก็บน้้าของเกษตรกรเป็นบ่อน้้า
                       ผิวดินที่ช่วยให้เกษตรกรมีน้้าใช้ท้าการเกษตรในช่วงฤดูแล้งได้ สามารถเลี้ยงปลา เลี้ยงสัตว์ และน้าน้้า

                       มาใช้เพาะปลูกพืชผักได้ บนขอบบ่อจะต้องมีการปลูกต้นกระถินออสเตรเลียร่วมกับปลูกหญ้าแฝกด้วย

                       จึงจะท้าให้มีปริมาณน้้าใช้ตลอดทั้งปี แต่ถ้าไม่ปลูกพืชใด ๆ ในบริเวณริมขอบสระน้้า ปริมาณน้้าในสระ
                       จะมีน้อย ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้้าของเกษตรกร (ภาพที่ 14)





















                       ภาพที่ 14 พื้นที่กักเก็บน้้าของเกษตรกร ช่วยเก็บกักน้้าส้ารองไว้ใช้ส้าหรับการเพาะปลูกในช่วงฤดูแล้ง

                              4.2.3 การฟื้นฟูและปรับปรุงบ้ารุงดิน

                              การด้าเนินงานพัฒนาและปูองกันการแพร่กระจายดินเค็มในพื้นที่ด้าเนินการ นอกจากจะใช้

                       มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าทั้งวิธีกลและวิธีพืชแล้ว จะต้องมีการฟื้นฟูและปรับปรุงบ้ารุงดินร่วมด้วย
                       กิจกรรมด้าเนินการมีดังนี้

                                   1) แปลงสาธิตการปลูกโสนอัฟริกันเป็นปุ๋ยพืชสด
                                   การเพาะปลูกพืชในพื้นที่ด้าเนินการส่วนใหญ่เป็นการเพาะปลูกข้าว ซึ่งเดิมสามารถ

                       ปลูกได้เพียงปีละหนึ่งครั้ง เนื่องจากประสบปัญหาดินเค็ม ท้าให้ผลผลิตข้าวต่้า จึงต้องมีการจัดการดิน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53