Page 53 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       44







                                                             บทที่ 5

                                                       สรุปผลการด าเนินงาน


                              การพัฒนาและปูองกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าล้าเสียวน้อย
                       ตอนบน–ห้วยกุดแดง พื้นที่ด้าเนินการบ้านหนองตอ หมู่ 7 10 11 12 บ้านโต้น หมู่ 9 ต้าบลหัวช้าง

                       บ้านดงยาง หมู่ 3 ต้าบลดงกลาง และบ้านค้อน้อย หมู่ 2 ต้าบลศรีโคตร อ้าเภอจตุรพักตรพิมาน
                       จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า

                              มาตรการวิธีพืช โดยการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็ม คือ กระถินออสเตรเลีย จ้านวน 112,000 ต้น

                       ท้าให้คราบเกลือลดลงและช่วยรักษาความชื้นหน้าดิน มีพืชพื้นเมืองบางชนิดขึ้นบริเวณใต้ทรงพุ่ม
                       การปลูกไม้ผลทนเค็ม จ้านวน 3,500 ต้น สามารถเจริญเติบโตได้ดีในพื้นที่ดินเค็มปานกลาง และ

                       เค็มน้อยสามารถให้ผลผลิตได้ โดยมีเปอร์เซ็นต์การรอดตาย 80 เปอร์เซ็นต์ ปลูกไม้เศรษฐกิจบนคันนา

                       จ้านวน 14,500  ต้น สามารถปลูกร่วมกับกระถินออสเตรเลียได้ มีการเจริญเติบโตดีและมีเปอร์เซ็นต์
                       การรอดตายสูงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ การปลูกยูคาลิปตัสบนพื้นที่สูง จ้านวน 6,800 ต้น ช่วยดูดซับน้้าฝน

                       ที่ตกลงบนเนินในที่สูงหรือพื้นที่นาดอนไม่ให้น้้าส่วนเกินไหลมาเพิ่มเติมในพื้นที่ดินเค็ม ลดคราบเกลือ

                       บนผิวดินในบริเวณใกล้เคียงได้ มีหญ้าและพืชชนิดอื่นๆ ขึ้นในบริเวณโคนต้น การปลูกหญ้าแฝกสาย
                       พันธุ์สงขลา 3  จ้านวน 380,000 กล้า ในพื้นที่ดินเค็มปานกลางและเค็มน้อย หญ้าแฝกสามารถ

                       เจริญเติบโตได้ดี ช่วยปูองกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และช่วยรักษาความชื้นในดิน แต่ในพื้นที่
                       ที่มีระดับเค็มจัดหญ้าแฝกไม่สามารถเจริญเติบโตได้ และมีเปอร์เซ็นต์การรอดตายต่้า

                              มาตรการวิธีกล พบว่า การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1 จ้านวน 300 กิโลเมตร ช่วยให้น้้าไม่

                       ไหลบ่าเนื่องจากคันนามีขนาดใหญ่ เป็นตัวช่วยชะลอน้้าที่ชะล้างหน้าดินเค็มมาจากพื้นที่สูงกว่าได้
                       ท้าให้นาในที่ลุ่มสามารถเพาะปลูกได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การก่อสร้างทางล้าเลียงในไร่นา

                       0.95 กิโลเมตร ช่วยให้เกษตรกรสามารถสัญจรไปมาสะดวก มีเส้นทางขนส่งสินค้าหรือผลผลิตทาง
                       การเกษตรที่สะดวกสบาย รวดเร็วมากขึ้น ทั้งยังลดการแพร่กระจายน้้าเค็มที่ไหลบ่ามาจากพื้นที่สูงได้

                       อีกด้วย ส่วนการก่อสร้างระบายน้้าช่วยให้ทางล้าเลียงไม่เสียหายในช่วงฤดูน้้าหลาก และปูองกัน

                       การแพร่กระจายน้้าเค็มให้น้อยลงได้ การวางท่อระบายน้้า 3 จุด ช่วยระบายน้้าออกจากแปลงไม่ให้
                       ท่วมแปลงจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อพืชและผลผลิต ลดความรุนแรงของน้้าฝนไม่ให้กัดเซาะทาง

                       ล้าเลียง และช่วยปูองกันการแพร่กระจายของดินเค็ม พื้นที่กักเก็บน้้าของเกษตรกร 17 บ่อ ช่วยให้

                       เกษตรกรมีน้้าใช้ในเกษตรช่วงฤดูแล้งได้ สามารถเลี้ยงปลา เลี้ยงสัตว์ และน้าน้้ามาใช้เพาะปลูกพืชผัก
                       ได้ ซึ่งจะต้องมีการปลูกต้นกระถินออสเตรเลียร่วมกับปลูกหญ้าแฝกด้วย จึงจะท้าให้มีปริมาณน้้าใช้

                       ตลอดทั้งปี แต่ถ้าไม่ปลูกพืชใดๆ บริเวณริมขอบสระน้้า ปริมาณน้้าจะมีน้อยไม่เพียงพอต่อความ
                       ต้องการใช้น้้าของเกษตรกร
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58