Page 52 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       43







                              4.2.4 การฝึกอบรมเกษตรกร
                              การฝึกอบรมเพื่อให้ความรู้ด้านการพัฒนาพื้นที่ดินเค็มแก่เกษตรกร จ้านวน 100  ราย

                       ด้าเนินการในพื้นที่ที่มีการแพร่กระจายดินเค็ม โดยการให้ค้าแนะน้าการจัดการพื้นที่ดินเค็มและ
                       ปูองกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็ม ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ชีวภาพของกรมพัฒนา

                       ที่ดิน สาธิตการท้าน้้าหมักชีวภาพจากสารเร่ง พด.2 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการแก้ไข
                       ปัญหาดินเค็มได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป (ภาพที่ 17)
















                       ภาพที่ 17 การฝึกอบรมเกษตรกร


                              ผลการด้าเนินงานและการติดตามผล พบว่า  พื้นที่ดินเค็มมีการเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับ
                       สภาพดิน เกษตรกรได้น้าวิธีการจัดการดินเค็มและวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชด้วยผลิตภัณฑ์

                       ของกรมพัฒนาที่ดินไปใช้ในพื้นที่ของตนเอง และยังเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง

                       ท้าให้มีเกษตรกรขอเข้าร่วมโครงการฯ เพิ่มมากขึ้น

                              4.2.5 การวิเคราะห์ผลผลิตข้าวและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ

                              จากการส้ารวจสภาวะการผลิตพืชและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรในพื้นที่
                       ด้าเนินการ ในระยะก่อนและหลังการด้าเนินงาน สามารถสรุปได้ดังนี้

                              สภาวะการผลิตข้าวเจ้าขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 21.79  ไร่ต่อครัวเรือน
                       พบว่า ก่อนด้าเนินงาน เกษตรกรมีต้นทุนในการผลิต เฉลี่ย  1,314.70  บาทต่อไร่ ได้ผลผลิตเฉลี่ย

                       193.67  กิโลกรัมต่อไร่ ราคาขายผลผลิตเฉลี่ย 10.00 บาทต่อกิโลกรัม ท้าให้มีมูลค่าผลผลิตเฉลี่ย

                       1,930.67 บาทต่อไร่ และมีผลตอบแทนก้าไรสุทธิ 615.97 บาทต่อไร่
                              หลังด้าเนินงาน พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนในการผลิตเฉลี่ย 1,362.80 บาทต่อไร่ ได้ผลผลิต

                       เฉลี่ย 303.54 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาขายผลผลิตเฉลี่ย 10.83 บาทต่อกิโลกรัม ท้าให้มีมูลค่าผลผลิตเฉลี่ย

                       3,287.35 บาทต่อไร่ และมีผลตอบแทนก้าไรสุทธิ 1,924.55 บาทต่อไร่ มีก้าไรเพิ่มขึ้น 1,305.58 บาท
                       ต่อไร่
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57