Page 45 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       36







                                   5) การปลูกหญ้าแฝก
                                   การปลูกหญ้าแฝกเป็นการปลูกเพื่อรักษาความชื้นและปูองกันการชะล้างพังทลายของ

                       ดินในพื้นที่ที่มีระดับความเค็มทั้ง 3 ระดับ ในบริเวณริมล้าห้วย แหล่งน้้าสาธารณะ ริมสระน้้าในไร่นา
                       และไหล่ทางล้าเลียงในไร่นา โดยใช้หญ้าแฝกสายพันธุ์สงขลา 3 จ้านวนทั้งสิ้น 380,000  กล้า ปลูก

                       ระยะห่างระหว่างต้นกล้า 5 เซนติเมตร
                                   ผลการด้าเนินงานและการติดตามผล พบว่า ในพื้นที่ระดับเค็มปานกลางและเค็มน้อย

                       หญ้าแฝกสายพันธุ์สงขลา 3 สามารถเจริญเติบโตได้ดี สามารถปูองกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน

                       บริเวณล้าห้วย แหล่งน้้า ทางล้าเลียงในไร่นา ช่วยรักษาความชื้น ท้าให้สามารถปลูกพืชอื่นๆ แซมได้
                       แต่ในพื้นที่ที่มีระดับเค็มจัดหญ้าแฝกไม่สามารถเจริญเติบโตได้ เมื่อเขาสู่ฤดูแล้งอากาศจะร้อนมาก

                       ท้าให้หญ้าแฝกตายเป็นจ้านวนมาก (ภาพที่ 11)

















                       ภาพที่ 11 ปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ดินเค็มเพื่อรักษาความชื้นและปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน
                              4.2.2 การใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าโดยวิธีกลในการพัฒนาและปูองกันการแพร่กระจาย

                       พื้นที่ดินเค็มในพื้นที่ด้าเนินการ

                              เป็นการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ให้มีความเหมาะสมกับสภาพปัญหาของ
                       พื้นที่ เพื่อปูองกันการแพร่กระจายดินเค็มและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ให้ดีขึ้น

                       กิจกรรมการด้าเนินงานมีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพภาคผนวกที่ 1 2 และ 3)
                                   1) การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1

                                   เป็นการก่อสร้างโดยการลบคันนาเดิมที่มีขนาดเล็กและเป็นผืนนาแปลงเล็กแปลงน้อย

                       แล้วสร้างคันนาขึ้นมาใหม่ โดยให้มีขนาดกว้างและสูงกว่าเดิม เป็นคันดินที่สร้างขึ้นโดยให้ระดับของคัน
                       ดินอยู่ในระดับเดียวกัน เพื่อกักเก็บน้้าที่ไหลบ่ามาไว้เป็นช่วง ๆ มีลักษณะเหมือนคันนา บนตัว

                       คันนาสามารถปลูกพืชชนิดต่าง ๆ ได้ ความสูงและความกว้างของคันดินจะผันแปรตามลักษณะของ
                       ดิน พื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปริมาณน้้าฝนที่ตกลงมา หรือปริมาณน้้าที่จะกักเก็บหรือระบาย

                       ออก คันนาที่สร้างจึงมีประโยชน์ในการเก็บกักน้้าและธาตุอาหารในดิน ให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโต
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50