Page 47 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       38







                                   2) ทางล้าเลียงในไร่นา (Farm road)
                                   การก่อสร้างทางล้าเลียงในไร่นา เป็นการก่อสร้างทางล้าเลียงที่ต้องตัดดินเดิมบนทาง

                       ล้าเลียงออกก่อน ภายหลังจากตัดหน้าดินเดิมไปแล้ว จะน้าดินใหม่มาถมแทนและบดอัดหนา
                       0.20 เมตร ปริมาณดินขุด-ถม ประมาณ 1  ลูกบาศก์เมตรต่อเมตร ทางล้าเลียงมีขนาดกว้าง 4  เมตร

                       และมีทางระบายน้้าด้านข้าง ซึ่งในพื้นที่มีการก่อสร้างทางล้าเลียง จ้านวนทั้งสิ้น 0.95 กิโลเมตร เป็น
                       การด้าเนินงานในปีงบประมาณ 2559 ทั้งหมด ทางล้าเลียงในไร่นาที่สร้างขึ้นมีประโยชน์ในการใช้เป็น

                       เส้นทางเข้าออก ล้าเลียงปัจจัยการผลิตและผลผลิตเข้าออกจากแปลง ช่วยดักตะกอนดิน รักษา

                       ความชื้นในดิน และลดการแพร่กระจายดินเค็มไปในพื้นที่ต่างๆ ได้
                                   ผลการด้าเนินงานและการติดตามผล พบว่า การก่อสร้างทางล้าเลียงในไร่นาช่วยให้

                       เกษตรกรสามารถสัญจรไปมาสะดวก มีเส้นทางขนสินค้าหรือผลผลิตทางการเกษตรที่สะดวกสบาย

                       รวดเร็วมากขึ้น ท้าให้เกษตรกรประหยัดเวลา ขนส่งผลผลิตทาการเกษตรได้คราวละมาก ๆ ทั้งยังลด
                       การแพร่กระจายน้้าเค็มที่ไหลบ่ามาจากพื้นที่สูงได้อีกด้วย ส่วนทางระบายน้้าจะช่วยให้ทางล้าเลียง

                       ไม่เสียหายในช่วงฤดูน้้าหลากและปูองกันการแพร่กระจายน้้าเค็มให้น้อยลงได้ (ภาพที่ 13)













                       ภาพที่ 13 ทางล้าเลียงในไร่นาที่ก่อสร้างในพื้นที่ดินเค็ม


                                   3) ท่อระบายน้้า

                                   การวางท่อระบายน้้าใต้ทางล้าเลียงจะต้องวางตามแนวทางน้้าไหล ก้าหนดจุดวางท่อ
                       ระบายน้้าให้สามารถระบายน้้าในช่วงหน้าฝนที่น้้าจะกัดเซาะทางล้าเลียงในไร่นา ช่วยระบายน้้าออก

                       จากแปลงไม่ให้ท่วมแปลงจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อพืชและผลผลิต ลดความรุนแรงของน้้าฝนที่
                       ไหลบ่าปูองกันไม่ให้ทางล้าเลียงถูกท้าลาย และไม่ให้เกิดการกัดเซาะคันดิน  ซึ่งในพื้นที่มีการวางท่อ

                       ระบายน้้าใต้ทางล้าเลียง จ้านวนทั้งสิ้น 3 จุด ด้าเนินการควบคู่ไปกับการก่อสร้างทางล้าเลียงในไร่นา

                       ในปีงบประมาณ 2559
                                   ผลการด้าเนินงานและการติดตามผล พบว่า ท่อระบายน้้าช่วยระบายน้้าออกจาก

                       แปลงไม่ให้ท่วมแปลงจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อพืชในพื้นที่ได้ และยังช่วยปูองกันการกัดเซาะทาง
                       ล้าเลียงไม่ให้เสียหาย มีผลทางอ้อมในการช่วยปูองกันการแพร่กระจายของดินเค็มในพื้นที่ได้
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52